moonus โพสต์ 2012-6-26 19:30:00

ความรู้เกี่ยวกับห่าน

file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image001.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image003.jpgfile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifห่านเป็นสัตว์ที่เลี้ยงง่ายไม่ค่อยเป็นโรคทนต่อสภาพแห้งแล้งและไม่ต้องการการดูแลเป็นพิเศษแต่อย่างใด จึงเหมาะอย่างยิ่งกับสภาพโดยทั่วไปของประชาชนในต่างจังหวัดที่จะนำมาเลี้ยงเพื่อใช้เป็นอาหารประเภทโปรตีนอีกทั้งการเลี้ยงดูก็ไม่มีอะไรที่ยุ่งยากหรือซับซ้อน และที่สำคัญก็คือใช้เงินลงทุนต่ำมากวิธีการเลี้ยงอาจจะใช้เลี้ยงแบบขังเล้า หรือปล่อยเลี้ยงตามใต้ถุนบ้านหรือท้องนา ปล่อยให้เล็มหญ้าหรือวัชพืชอื่นๆ และมีอาหารข้นซึ่งประกอบด้วยรำ ปลายข้าว ข้าวเปลือก เสริมให้กินบ้างเท่านั้นก็เป็นเพียงพอแล้วfile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifกล่าวโดยทั่วไปแล้วการเลี้ยงห่านยังไม่เป็นที่แพร่หลายนัก ทั้งนี้เพราะปัญหาเกี่ยวกับความเชื่อถือในการบริโภคเนื้องห่านว่าเป็นอาหารแสลงอย่างเช่นผู้ชายเมื่อบริโภคเนื้อห่านแล้วจะเกิดเป็นโรคเรื้อน หรือผู้หญิงหากบริโภคเนื้อห่านแล้วจะเป็นโรคผิดกระบูนหรือพิษแม่ลูกอ่อน ซึ่งแท้จริงแล้วมิได้เป็นเช่นนั้น โรคดังกล่าวหากจะเกิดขึ้นจะต้องมีตัวของเชื้อโรคนั้นๆ เป็นสาเหตุจึงจะเกิดขึ้น หาใช่เป็นเพราะเนื้อห่าน มีบางรายเมื่อบริโภคเนื้อห่านแล้วจะมีอาการแพ้บ้าง ซึ่งโอกาสที่จะเกิดขึ้นก็มีน้อยมาก เช่นเดียวกับคนบางคนที่แพ้ไข่เนื้อ เนื้อหมู ไก่ กุ้ง หรือเนื้อสัตว์อื่น ๆ file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image006.jpgfile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifนอกจากนั้นคนบางคนมีความคิดว่าเนื้อห่านเป้นอาหารสำหรับผู้มีอันจะกินเท่านั้นดังจะเห็นได้จากในสมัยก่อน ๆ ตามบ้านผู้มีฐานะดีจะเลี้ยงห่านกันบ้านละ 3-4 ตัว แต่แท้จริงที่มีผู้นิยมเลี้ยงไว้ตามบ้านนั้นก็เลี้ยงไว้เพื่อเฝ้าบ้านกันขโมยเท่านั้นfile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifในปัจจุบันปัญหาการขาดแคลนโปรตีนและพลังงานของประชาชนทั่วๆ ไปซึ่งจะทำให้ร่างกายอ่อนแอ มีผลเสียอย่างยิ่งต่อสมอง อันจะเป็นผลกระทบกระเทือนต่อการพัฒนาประเทศสัตว์เลี้ยงที่จะช่วยเสริมแหล่งโปรตีนราคาถูกให้กับประชาชนโดยทั่วไปไม่ว่าในชนบทหรือในตัวเมืองอีกชนิดหนึ่งนอกเหนือจากพันธุ์ห่านที่นิยมเลี้ยงกันมาก ได้แก่file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image007.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image008.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifพันธุ์จีนมีอยู่ 2 ชนิดที่เป็นที่นิยมคือ file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifพันธุ์จีนสีขาวและพันธุ์จีนสีเทา รูปร่างเล็กว่าพันธุ์อื่น ๆ มีอัตราการเจริญเติบโตเร็ว เมื่อโตเต็มที่จะมีน้ำหนักปานกลางซึ่งเหมาะสำหรับส่งขายตลาดน้ำหนักเมื่อเป็นหนุ่มสาว ตัวผู้จะหนักประมาณ 4.5กก. เมื่อเทียบกับพันธุ์อื่น ๆ แล้ว ห่านพันธุ์จีนให้ไข่เมื่ออายุน้อยและให้ไข่ดี โดยเฉลี่ยประมาณตัวละ 30-50 ฟองต่อปี ซึ่งเคยมีรายงานการให้ไข่สูงสุดถึงปีละ132 ฟอง และน้ำหนักไข่ เฉลี่ยฟองละ 150 กรัมfile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image009.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image008.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image011.jpgfile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifพันธุ์เอ็นเด็น มีแหล่งกำเนิดจากประเทศเยอรมันนี ขนมีสีขาวบริสุทธิ์ตลอดตัวมีลักษณะค่อนข้างสวยงามแต่ขนบางเบา จึงมองเห็นเหมือนตั้งชี้ตรงขึ้นไป มีลักษณะลำตัวตรงค่อนข้างใหญ่ มีอัตราการเจิรญเติบโตเร็ว สามารถทำน้ำหนักตัวได้เต็มที่ในระยะเวลาอันสั้นเหมาะสำหรับเลี้ยงไว้เพื่อจำหน่ายเนื้อ น้ำหนักตัวเมื่อเป็นหนุ่มสาว ตัวผู้หนักประมาณ9.1 กก.ตัวเมียหนักประมาณ 7.3 กก. เมื่อโตเต็มที่ตัวผู้หนักประมาณ 11.8กก. และตัวเมียหนักประมาณ 9.1 กก. ให้ไข่ได้ดีพอประมาณโดยเฉลี่ย ประมาณตัวละ 30-40 ฟองต่อปี file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image012.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image008.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image013.jpgfile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifพันธุ์โทเลาซ์ มีแหล่งกำเนิดจากประเทศฝรั่งเศส ทางตอนใต้ตามชื่อเมืองโทเลาซ์ลักษณะเฉพาะของห่างพันธุ์นี้อ้วนล่ำลำตัวกว้างมีขนไม่หนาตรงกลางหลังมีขนสีเทาเข้ม ซึ่งจะค่อยๆ จางลงมาเรื่อย ๆ ตรงอกและท้องมีแถบเป็นขอบสีขาว ตาสีน้ำตาลแก่หรือน้ำตาลแดง ปากสีส้มอ่อนๆ แข็งและข้อเท้ามีสีส้มปนแดง ส่วนขาตอนล่างและเล็บเท้ามีสีแสดเข้ม น้ำหนักตัวเมื่อเป็นหนุ่มสาวตัวผู้หนักประมาณ 9.1กก. ตัวเมียหนักประมาณ 7.3 กก. ส่วนน้ำหนักเมื่อโตเต็มที่ตัวผู้หนักประมาณ 11.8 กก. ตัวเมียหนักประมาณ 9.1 กก. ซึ่งเมื่อเทียบกับห่านพันธุ์เอ็นเด็นแล้วจะมีขนาดเท่า ๆ กันการให้ไข่เฉลี่ยประมาณตัวละ 34 ฟองต่อปีfile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image014.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image008.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image016.jpgfile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifพันธุ์ฟิลกริม ห่านพันธุ์นี้มีขนสีแตกต่างกันระหว่างตัวผู้กับตัวเมียเมื่ออายุ 1 วันตัวผู้จะมีสีครามจาง ๆ ไปทางขวา ส่วนตัวเมียสีเทา พอโตขึ้นตัวผู้จะมีสีขาวตลอดร่างแต่ตัวเมียมีสีเทาปนขาว ลักษณะรูปร่างอยู่ในขนาดกลาง ๆ น้ำหนักเมื่อเป็นหนุ่มสาว ตัวผู้หนักประมาณ5.5 กก. ตัวเมียหนักประมาณ 4.5 กก. เมื่อโตเต็มที่ตัวผู้หนักประมาณ6.5 กก. และตัวเมียหนักประมาณ 5.9 กก. การให้ไข่อยู่ในเกณฑ์ต่ำเฉลี่ยประมาณตัวละ29-39 ฟองต่อปี file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image017.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image008.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image019.jpgfile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifพันธุ์อาฟริกัน เป็นห่านรูปร่างสวยงาม มีก้อนตุ่มขนาดโตสีดำเห็นได้ชัดเจนบนหัวลักษณะลำตัวยาวรี หัวสีน้ำตาลอ่อน จงอยปากเป็นสีดำ ขนบริเวณปีกและหลังสีเทาอ่อนปนน้ำตาลขนตรงคอ อกสีเดียวกันแต่อ่อนกว่าเล็กน้อย ขนใต้ลำตัวมีสีอ่อนกว่าขนตรงอกจนเกือบจะเป็นสีขาวแข้ง และเท้าสีส้มเข้ม น้ำหนักเมื่อเป็นหนุ่มสาว ตัวผู้หนัก 7.3 กก. ตัวเมีย 6.4กก. เมื่อโตเต็มที่ตัวผู้หนักประมาณ 9.1 กก. ตัวเมียหนักประมาณ8.2 กก. file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image020.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image008.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image021.jpgfile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifพันธุ์แคนาดา เป็นห่านป่าที่มีถิ่นฐานอยู่ทางอเมริกาเหนือ ขนาดค่อนข้างเล็กลำตัวค่อนข้างยาว หัวมีสีดำ มีคาดสีเทาหรือขาวบนหน้าทั้งสองข้างคอสีดำ หลังสีดำปนเทาขนปีกมีสีดำขลิบเทาอ่อน และมีขนาดยาวใหญ่เจริญเติบโตช้าและให้ไข่น้อยมาก เมื่อเป็นหนุ่มสาวตัวผู้หนัก 4.5 กก. ตัวเมีย 3.6 กก. เมื่อโตเต็มที่ ตัวผู้หนัก 5.5กก. ตัวเมียหนัก 4.5 กก. file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image022.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image008.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image023.jpgfile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifพันธุ์อิยิปต์เชี่ยนเป็นห่านขนาดเล็ก ลำตัวค่อนข้างยาว เล็กและเรียวจงอยปากสีม่วงอมแดง หัวสีดำปนเทามีจุดสีน้ำตาลอมแดงรอบๆ ตาลำตัวส่วนบนมีสีเทาปนดำ ส่วนล่างสีเหลืองเป็นลาย ๆ สลับริ้วสีดำ แข้งและเท้าสีเหลืองออกแดง file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image024.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image025.jpgfile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifปกติแล้วโรงเรือนสำหรับเลี้ยงห่านใหญ่ไม่ค่อยจะจำเป็นนักนอกจากลูกห่านในระยะแรกเกิด ควรจะมีโรงเรือนเลี้ยงเป็นสัดส่วน แต่อย่างไรก็ตามอาจจะสร้างเป็นโรงเรือนเล็กๆ สำหรับใช้เลี้ยงห่านโดยทั่วไปก็ได้ อย่างเช่น โรงเรือนเลี้ยงไก่หรือเป็ด แต่หากจะประหยัดหรือลดต้นทุนการผลิตอาจจะกั้นบริเวณใต้ถุนหรือบริเวณลานบ้าน ใช้สังกะสีหรือลวดตาข่ายสูง1 เมตร ล้อมกั้นบริเวณก็ได้เพื่อสะดวกต่อการเคลื่อนย้ายหรือเปลี่ยนสถานที่ สิ่งที่สำคัญก็คือพื้นเล้าของโรงเรือน หรือบริเวณที่กั้นเลี้ยงห่านจะต้องแห้ง มีสิ่งรองพื้นหนาพอสมควรในการเลี้ยงปล่อยควรมีร่มต้นไม้ไว้สำหรับห่านได้หลบแดดด้วย ความต้องการพื้นที่เลี้ยงของห่านขนาดต่างๆ
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifลูกห่านอายุ 1สัปดาห์ ควรจัดให้มีพื้นที่ 1/2 - 3/4 ตารางฟุต/ตัว
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifลูกห่านอายุ 2สัปดาห์ ควรจัดให้มีพื้นที่ 1 - 1 1/2 ตารางฟุต/ตัว
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifลูกห่านอายุ 2สัปดาห์ขึ้นไปอย่างน้อย 2 ตารางฟุต/ตัว file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image027.jpgfile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifแต่ควรปล่อยอิสระออกเลี้ยงในทุ่งหญ้าหรือแปลงหญ้าการเลี้ยงห่านอาจจะแบ่งออกได้เป็น 3 อย่างคือ file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif1.การเลี้ยงห่านเพื่อผลิตไข่ แต่ไม่ค่อยเป็นที่นิยมนัก ทั้งนี้เนื่องจากห่านไข่ไม่ดกเพราะให้ไข่ปีละ 4-5 ครั้ง ๆ ละ 7-10 ฟองเท่านั้นfile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif2.การเลี้ยงห่านเพื่อขยายพันธุ์ โดยทั่วไปแล้วห่านที่เลี้ยงเพื่อการขยายพันธุ์จะเป็นห่านที่มีอายุตั้งแต่1 ปีขึ้นไป ซึ่งในช่วงการให้ไข่ปีที่ 2 และปีที่3 ห่านจะให้ไข่ดี file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif3.การเลี้ยงห่านเนื้อ เพื่อขายเป็นห่านกระทง อายุระหว่าง 2-4 เดือน ห่านที่ใช้เลี้ยงเป็นห่านเนื้อ ควรจะเจริญเติบโตเร็วมีขนสีขาวและขนขึ้นเต็มมีซากตกแต่งแล้วขนาดปานกลาง file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image028.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image029.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image030.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image031.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image029.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image033.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifไข่ห่านที่จะนำมาฟักควรเป็นไข่ห่านจากแม่ห่านที่ได้รับการผสมพันธุ์แล้วและมีอายุระหว่าง 1-3 ปี ไข่ที่จะใช้ฟักไม่ควรเก็บไว้นานเกิน7 วัน หากเก็บไว้ถึง 10 วันมีแนวโน้มที่จะทำให้การฟักออกต่ำลงแต่ถ้าจำเป็นต้องเก็บไว้เกิน 7 วัน ต้องเก็บไว้ในที่ที่มีอุณหภูมิ50-60 องศาฟาเรนไฮท์ (F) หรือประมาณ 10-15องศาเซนเซียส (C) และความชื้นสัมพันธ์ 75-80เปอร์เซ็นต์ ควรกลับไข่อย่างน้อยวันละครั้งเพื่อป้องกันไม่ให้เชื้อติดเยื่อเปลือกไข่ไข่ฟักที่สะอาดจะมีเปอร์เซ็นต์การไปฟัก ออกเป็นตัวดีกว่าไข่ที่สกปรก หากจำเป็นต้องใช้ไข่ที่สกปรกไม่มากนักไปฟักต้องรีบทำความสะอาดทันทีหลังจากเก็บ โดยใช้ฝอยโลหะหรือกระดาษทรายเบอร์ 0 หรือเบอร์ 1 ขัดเบา ๆ หรือล้างในน้ำอุ่นที่สะอาด(อุณหภูมิประมาณ 48 องศาเซนเซียส) ซึ่งผสมด้วยน้ำยาล้างไข่เป็นเวลาประมาณ3 นาที ควรระมัดระวังเสมอว่าน้ำที่จะใช้ล้างไข่จะต้องอุ่นกว่าอุณหภูมิของไข่เสมอไข่ฟักที่มีขนาดฟองใหญ่เกินไปหรือเล็กเกินไป หรือมีลักษณะผิดปกติแตกร้าว ไม่ควรใช้ฟักเพราะโอกาสจะฟักออกเป็นตัวมีน้อยมาก file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image034.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image028.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image029.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image030.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image028.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image029.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image035.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image037.jpg file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image038.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image039.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif1.ห่านพันธุ์ทั่วๆไป 31-32 วัน
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif2. ห่านพันธุ์แคนาดาและพันธุ์อียิปต์เชี่ยน35 วัน file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image040.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image042.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifวิธีการฟักไข่ห่านมีอยู่3 วิธี คือ file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif1.ใช้แม่ไก่ฟัก แม่ไก่ตัวหนึ่งสามารถฟักไข่ห่านได้ครั้งละ 4-5 ฟอง
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif2. ใช้แม่ห่านฟัก แม่ห่านตัวหนึ่งฟักไข่ห่านได้ครั้งละ7-8 ฟอง
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifวิธีฟักไข่2 วิธีดังกล่าวข้างบนนี้จะต้องจัดทำรังฟักไข่สำหรับให้แม่ไก่หรือแม่ห่านกกไข่ด้วย พื้นรังไข่ควรรองด้วยหญ้าแห้งหรือฟางข้าวก่อนให้แม่ไก่หรือแม่ห่านฟักไข่จะต้องทำการกำจัดไรหรือเหาตามตัวเสียก่อน รังฟักไข่ควรจะอยู่ใกล้ที่ให้อาหารและน้ำและควรวางบนพื้นดินเพราะจะเป็นการช่วยให้มีความชื้นมากขึ้น อยู่ในที่ที่แม่ไก่หรือแม่ห่านไม่ถูกรบกวนในระหว่างฟักไข่หากจะช่วยกลับไข่วันละ 3-4 ครั้ง ก็จะเป็นผลดี ควรทำเครื่องหมายตามด้านยาวของฟองไข่ไว้เป็นการกันสับสนการกลับไข่ให้กลับ 180 องศา โดยพลิกกลับเอาด้านตรงกันข้ามขึ้นfile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image044.jpgfile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif3.ใช้ตู้ฟักหรือที่เรียกว่า การฟักแบบวิทยาศาสตร์
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifไข่ที่จะนำมาฟัก หากเก็บไว้ในห้องเก็บไข่ที่ควบคุมอุณหภูมิเมื่อจะนำเข้าตู้ฟักจะต้องเอามาวางไว้ในห้องปกติเสียก่อน เพื่อให้ไข่มีอุณหภูมิสูงขึ้นจึงค่อยนำเข้าตู้ฟัก มิฉะนั้นอุณหภูมิในตู้ฟักไข่จะลดลงอย่างมาก การวางไข่ในถาดฟักให้วางไข่ในแนวราบตามความยาวของฟองไข่และควรทำเครื่องหมายที่ฟองไข่เพื่อความสะดวกในการกลับไข่อุณหภูมิตู้ฟักไข่ควรตั้งไว้ที่ 37.5 องศาเซนเซียส หรือ 99.5-99.7องศาฟาเรนไฮท์ ในช่วง 25-28 วันแรก ความชื้นสัมพันธ์ของตู้ฟักประมาณ57-62 เปอร์เซ็นต์ (ปรอทตุ้มเปียกประมาณ30-31 องศาเซนเซียส) และควรจะพรมไข่ด้วยน้ำอุ่นสัปดาห์ละ2 ครั้ง file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifได้มีผู้แนะนำไว้ว่าในการฟักไข่ห่านได้ผลดีนั้น ควรจะเอาถาดไข่ออกมาวางข้างนอกตู้ฟัก พรมด้วยน้ำอุ่นเป็นฝอยๆตั้งทิ้งไว้สัก 10-15 นาที แล้วจึงนำกลับเข้าตู้ฟักfile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifระหว่างช่วงออกช่วงที่ลุกห่านจะเริ่มเจาะเปลือกไข่ ควรจะเพิ่มความชื้นให้สูงขึ้นถึง 73-79% (ปรอทตุ้มเปียกประมาณ 32.7-33.8 องศาเซนเซียส) ความชื้นสูงในช่วงนี้จะช่วยทำให้เยื่อหุ้มเปลือกไข่นุ่ม เป็นการง่ายสำหรับลูกห่านจะได้เจาะโผล่ออกมาfile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image045.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image046.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image045.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image046.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image046.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image046.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image046.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image045.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image047.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image048.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image049.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifการส่องไข่คือการตรวจดูว่าไข่ฟองไหนมีเชื้อหรือไม่มีเชื้อ การส่องไข่ควรกระทำในห้องมือโดยใช้ที่ส่องไข่ส่องดูหรือจะจับไข่มาส่องกับแสงสว่างดูก็ได้ ควรส่องไข่ดู 2 ครั้ง ครั้งแรกเมื่อฟักไข่ไปได้แล้ว 10วัน และครั้งที่สองเมื่อครบ 28 วัน หรือเหลืออีก3 วัน ก่อนกำหนดออกเป็นตัว
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifเมื่อส่องไข่ดูครั้งแรกพบไข่ไม่มีเชื้อหรือไข่เชื้อตายจะต้องนำออกไปจากตู้ฟักไข่ให้หมด เพื่อมิให้กระทบกระเทือนต่อการฟักออกของไข่มีเชื้อไข่ไม่มีเชื้อจะมองเห็นเหมือนไข่ธรรมดาไข่เชื้อตายจะปรากฏเป็นจุดดำติดอยู่กับเยื่อเปลือกไข่ซึ่งจะมีวงเลือดปรากฏให้เห็น ส่วนไข่มีเชื้อและกำลังเจริญเติบโตจะเห็นเป็นจุดดำที่ส่วนท้ายของไข่ใกล้กับช่องอากาศและมีเส้นเลือดกระจายออกไปรอบ ๆ จากจุดนี้ file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifในการส่องไข่ครั้งที่สองเมื่อได้ทำการฟักไปแล้ว 28 วัน หรืออีก 3วัน ก่อนกำหนดออกเป็นตัว ไข่ที่เชื้อยังดีอยู่และกำลังจะออกเป็นตัว จะปรากฏเป็นสีดำทึบไปหมดยกเว้นส่วนที่เป็นช่องอากาศจะมองเห็นการเคลื่อนไหวของลูกห่านที่กำลังจะออกด้วย file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifอัตราการฟักออกเป็นตัวของไข่ห่านไข่ที่เก็บในระยะแรกของการให้ไข่จะฟักออกเป็นตัวดีที่สุด แล้วค่อย ๆ ละลงเรื่อยๆ ตามระยะของการให้ไข่ซึ่งเฉลี่ยตลอดฤดูการให้ไข่อัตราการฟักออกประมาณ66 เปอร์เซ็นต์ file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image045.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image050.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image045.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image050.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image050.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image050.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image050.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image045.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image051.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image052.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image054.jpgfile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifหากอากาศไม่หนาวเย็นหรือในระหว่างหน้าร้อนการกกลูกห่านจะกกเฉพาะในเวลากลางคืนเท่านั้น ซึ่งจะกกประมาณ 2-3 สัปดาห์ หากใช้แม่ไก่หรือแม่ห่านกก ซึ่งเป็นการกกแบบธรรมชาติก็ไม่มีปัญหาแต่อย่างใด แม่ไก่ตัวหนึ่งจะกกลูกห่านได้ประมาณ 4-5 ตัว ส่วนแม่ห่านจะกกลูกห่านได้ประมาณ 7-8 ตัวหากมีลูกห่านเกิดใหม่จำนวนมาก ก็ควรจะใช้วิธีกกแบบวิทยาศาสตร์ ซึ่งอาจจะใช้ file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif1.ตะเกียง การใช้ตะเกียงกก ตะเกียงหนึ่งดวงจะใช้กกลูกห่านได้ประมาณ15-35 ตัว ควรใช้สังกะสีทำเป็นวงล้อมกันมิให้ลูกห่านถูกตะเดียง และมีวงล้อมด้านนอกกั้นมิให้ลูกห่านออกไปไกลจากตะเกียงซึ่งเป็นแหล่งให้ความร้อนfile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif2.เครื่องกก ซึ่งอาจจะใช้ไฟฟ้าหรือใช้แก๊สก็ได้ แต่โดยทั่วไปแล้วนิยมใช้ไฟฟ้าอาจจะเป็นลักษณะเป็นกรงกก หรือเป็นลักษณะแบบฝาชีก็ได้ กรงกกขนาดกว้าง 1 เมตร ยาว 2 เมตร ใช้กกลูกห่านได้ประมาณ 50-75ตัว ถ้าเป็นแบบเครื่องกกฝาชี ซึ่งกกลูกไก่ได้ 500 ตัว ก็จะใช้กกลูกห่านได้ 250 ตัว ในการใช้เครื่องกกลูกห่านจะต้องสังเกตการแสดงออกของลูกห่านเป็นเครื่องชี้ให้ทราบว่า ความร้อนที่ใช้กกเหมาะสมพอดีหรือไม่เช่น ลูกห่านเบียดสุมกันอยู่และส่งเสียงดัง แสดงว่าความร้อนไม่พอ หรือลูกห่านยืนอ้าปากกางปีกออก แสดงว่าความร้อนมากเกินไป file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image052.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image052.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image052.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image055.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image052.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifโรงเรือนหรือสถานที่ที่ใช้กกลูกห่านในช่วงนี้พื้นเล้าจะต้องแห้งมีแสงสว่างพอควร ไม่มีหยักไย่หรือฝุ่นละอองสกปรก อากาศถ่ายเทได้ดีและสามารถป้องกันมิให้สุนัชแมว หรือ หนู เข้ไาปรบกวนทำอันตรายลูกห่านได้ file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifจากช่วงแรกเกิดถึงอายุ3 สัปดาห์ จะใช้อาหารลูกไก่สำเร็จรูปชนิดอัดเม็ดมาใช้เลี้ยงลูกห่านก็ได้หรือหากผสมอาหารเอง เมื่อผสมแล้วจะต้องมีจำนวนโปรตีนประมาณ 20-22 เปอร์เซ็นต์ และผสมน้ำพอหมาด ๆ ให้กินก็ได้ file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifหากจะใช้รางน้ำหรือรางอาหารที่ใช้เลี้ยงลุกไก่มาใช้เลี้ยงลูกห่านก็ได้แต่ควรจัดให้มีพื้นที่ขอบรางน้ำสำหรับลูกห่านหนึ่งตัวอย่างน้อย 3/4 นิ้ว และขอบรางอาหาร 1/2 นิ้ว file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifตังแต่แรกเกิดจนถึง24-48 ชั่วโมงไม่ต้องให้อาหารลูกห่าน หลังจากนั้นจึงเริ่มให้อาหาร ควรให้อาหารลูกห่านกินบ่อย ๆวันละประมาณ 3-5 ครั้ง ปริมาณอาหารที่ให้กิน ประมาณว่าให้แต่ละครั้งลูกห่านกินหมดพอดีหรือหากเหลือก็น้อยที่สุด โดยเฉลี่ยลูกห่านจะกินอาหารวันละประมาณ 10 เปอร์เซ็นต์ ของน้ำหนักตัว มีน้ำสะอาดให้กินตลอดเวลาfile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image056.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image055.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image057.jpgfile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifหลังจากที่ลูกห่านมีอายุ 3 สัปดาห์แล้ว อาหารที่ใช้เลี้ยงควรจะเปลี่ยนเป็นอาหารที่มีโปรตีนประมาณ17-18 เปอร์เซ็นต์ หรือจะใช้อาหารสำเร็จรูปสำหรับไก่รุ่นก็ได้ และควรจะให้ห่านได้กินหญ้าสดโดยเร็วเท่าที่จะเป็นได้โดยค่อย ๆ ปล่อยให้ห่านหัดหาหญ้ากินเอง แล้วจัดอาหารผสมเสริมไว้ให้กินในตอนเย็นวันละประมาณ100-150 กรัมต่อตัวจริงอยู่ที่ว่าห่านสามารถเจริญเติบโตได้ดีถึงแม้จะเลี้ยงด้วยหญ้าสดเพียงอย่างเดียวแต่การให้อาหารผสมเสริมให้ห่านกิน จะทำให้มีการเจริญเติบโตดีและโตเร็วขึ้น ในที่ที่ปล่อยห่านไปหาหญ้ากินควรมีร่มต้นไม้หรือทำร่มไว้ให้ในระหว่างที่อากาศร้อน หากสามารถจัดทำแปลงหญ้าสำหรับห่านได้โดยเฉพาะเป็นการดีอย่างยิ่งอีกทั้งประหยัดต้นทุนการผลิตด้วย ห่านชอบกินหญ้าที่ต้นอ่อนยังสั้นอยู่และนุ่ม แปลงหญ้าที่ปล่อยให้ห่านเข้าไปกินแล้วจะต้องตบแต่งเป็ฯการทำให้หญ้าที่เหลือค้างอยู่ไม่แก่การตัดในช่วงห่างสม่ำเสมอกัน จะช่วยทำให้หญ้าไม่ยาวและมีเยื่อใยมากเกินไป แปลงหญ้าที่ได้รับการบำรุงอย่างดีเนื้อที่ 1 ไร่ จะเลี้ยงห่านได้ประมาณ 30-50 ตัว file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image058.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image052.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image059.jpgfile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifปกติแล้วในบ้านเราจะเลี้ยงห่านจะมีอายุประมาณ 4-5 เดือนก็จับขาย เมื่อประมาณว่าจะจับขายเมื่อใดก่อนหน้านั้นสัก 4 สัปดาห์อาหารผสมที่ใช้เลี้ยงควรจะลดจำนวนโปรตีนลงเหลือประมาณ14 เปอร์เซ็นต์ หรือใช้อาหารไก่เนื้อช่วงสุดท้ายก็ได้ ห่านรุ่นทั้งตัวผู้และตัวเมียที่ไม่ได้คัดเลือกไว้สำหรับทำพันธุ์ควรจะนำมาเลี้ยงขนเพื่อขายเป็นห่านเนื้อ ในช่วง 4 สัปดาห์นี้ควรจับห่านขังไว้ในคอกเล็กๆ ไม่ต้องปล่อยไปหากินหญ้า แต่ควรตัดหญ้านำมาใช้กินในคอก เพื่อห่านจะได้มีน้ำหนักตัวเพิ่มเร็วขึ้นและเนื้อมีคุณภาพดีวิธีขุนอาจจะแบ่งขุนเป็น file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif1.ขุนขังคอกเล็ก จับห่านขังคอกประมาณ 20-25 ตัวต่อคอก มีพื้นที่ขนาดให้พออยู่ได้สบาย ๆ ไม่ต้องมีลานวิ่ง พื้นคอมกมีวัสดุรองพื้นจะจัดกั้นลานเล็กๆ ให้อยู่ก็ได้ ให้อาหารกินวันละ 3 เวลา มีน้ำให้กินตลอดเวลาและมีข้าวเปลือกหรือข้าวโพดหญ้าสดหรือเศษผักที่ไม่มีสารมีพิษตกค้างให้กินด้วย file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif2.ขุนเป็นฝูงใหญ่ ฝูงละเป็น 100 ตัวขึ้นไป ซึ่งอาจใช้วิธีเดียวกันกับการเลี้ยงไก่กระทงก็ได้โดยใช้โรงเรือนแบบเดียวกัน พื้นคอกต้องมีวัสดุปูรองพื้น หรือจะใช้เป็นพื้นลวดตาข่ายก็ได้อาหารที่ใช้ขุนจะใช้อาหารไก่กระทงช่วงสุดท้าย หรือผสมใช้เองก็ได้ พร้อมทั้งมีภาชนะใส่น้ำไว้ให้กินด้วยหรืออาจจะใช้วิธีขุนในแปลงหญ้าโดยเฉพาะ และมีอาหารผสมเสริมให้กิน ซึ่งจะเป็นการช่วยให้ระยะการขุนสั้นเข้าfile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image060.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image061.jpgfile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifในบ้านเราจากการศึกษาพบว่าห่านจะเริ่มให้ไข่เมื่ออายุประมาณ 165 วัน หรือประมาณ 5 เดือนครึ่งขึ้นไปซึ่งตามธรรมชาติแล้วเมื่อห่านจะเริ่มให้ไข่ แม่ห่านจะหารังไข่เอง ฉะนั้นจึงจำเป็นต้องจัดทำรังไข่ให้ซึ่งอาจทำได้หลายลักษณะ เช่น ทำเป็นช่อง ๆ เหมือนรังไข่สำหรับเป็ดหรือไก่ ช่องละ 1ตัว ควรมีขนาดอย่างน้อยกว้าง 18 นิ้ว ลึก 20นิ้ว สูง 40 นิ้ว หรืออาจจะทำเป็นรังไข่ตามยาวโดยไม่ต้องกั้นแบ่งช่องก็ได้พร้อมทั้งมีวัสดุรองพื้นที่สะอาดรองไว้ให้หนาพอสมควร เพื่อไข่จะได้สะอาด อย่างน้อยจะต้องมีรังไข่1 รัง สำหรับห่าน 5-6 ตัว file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifห่านจะให้ไข่เป็นชุดๆ ในปีหนึ่งโดยเฉลี่ยประมาณ 3-4 ชุด แต่อาจให้ไข่ตั้งแต่ 1-7 ชุด ชุดหนึ่งจะได้ไข่ประมาณ7-10 ฟอง แต่บางครั้งอาจได้ครั้งละ 9-12 ฟอง ซึ่งการให้ไข่ในชุดที่ 2 จะให้ไข่มากกว่าชุดอื่นๆ และแต่ละชุดจะใช้เวลาประมาณ 10-15 วัน โดยมีช่วงห่างระหว่างชุดแรกกับชุดที่สองตั้งแต่ 26-71 วัน โดยช่วงห่างระหว่างชุดแรกจะห่างมากและชุดต่อๆไปจะสั้นลงเรื่อย ๆ ระยะแรกๆ ไข่ห่านจะมีขนาดเล็กเท่า ๆ กับไข่เป็ด ต่อไปจะมีขนาดใหญ่ขึ้นเมื่ออายุการให้ไข่ครบปี ไข่ห่านจะมีขนาดสองเท่าของไข่เป็ด ไข่ห่านโดยเฉลี่ยจะมีน้ำหนักประมาณฟองละ155.6 กรัม file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifปกติแล้วห่านจะให้ไข่วันเว้นวันแต่มีบางตัวที่ให้ไข่สองวันหรือสามวันติดต่อกัน แล้วจึงหยุดไข่วันหนึ่งหรือหลายวันและห่านจะให้ไข่ตอนสายๆ file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image062.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifการเก็บไข่วันละหลายๆครั้งจะช่วยมิให้แม่ห่านนั่งกกไข่และหยุดไข่เร็วเกินไป
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifการให้ไข่ของห่านในปีที่สองจะให้ไข่จำนวนมากกว่าในปีแรกและฟองใหญ่กว่าด้วยถึงแม้ว่าเปอร์เซ็นต์ของไข่มีเชื้อจะลดลงเมื่อห่านมีอายุมากขึ้นก็ตามแต่การฟักออกของไข่ห่านที่มีเชื้อจะมีเปอร์เซ็นต์เพิ่มขึ้นในปีที่สอง หลังจาก 2-3ปีไปแล้วการให้ไข่จะลดลงเรื่อยๆ ในปีต่อๆ ไป แต่ก็มีแม่ห่านบางตัวสามารถให้ไข่ได้ดีถึงแม้ว่าอายุจะครบ 10 ปีแล้วก็ตาม และบางครั้งถึงแม้ว่าจะมีอายุมากกว่านั้นก็ยังสามารถให้ไข่ได้ดีfile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifในช่วงที่ห่านกำลังให้ไข่ใช้อาหารไก่ไข่หรืออาหารผสมเองที่มีโปรตีนประมาณ 15-17 เปรอ์เซ็นต์ ให้กินวันละ 2 เวลา วันละประมาณ 250-300 กรัมต่อตัว file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifส่วนห่านที่เลี้ยงไว้ทำพันธุ์หลังจากพ้นช่วงเป็นห่านรุ่นแล้ว ก็พิจารณาคัดเลือกห่านที่มีลักษณะดีนำมาใช้เลี้ยงเพื่อขยายพันธุ์ต่อไปfile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image063.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image064.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifการผสมพันธุ์ของห่านควรปล่อยให้ผสมพันธุ์เองตามธรรมชาติ ถ้าห่านได้ผสมกันในน้ำ จะช่วยให้เปอร์เซ็นต์ไข่มีเชื้อดีขึ้นการผสมแบบฝูงใหญ่ประมาณ 25-50 ตัว ไม่น่ากระทำ เพราะนอกจากห่านพ่อพันธุ์จะจิกตีกันเองแล้วยังจะทำให้การให้ไข่ของห่านแม่พันธุ์ลดน้อยลงด้วย file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifในระยะแรกจะพบว่าการผสมพันธุ์ของห่านนั้นเป็นไปอย่างช้าและลำบากจนกว่าห่านตัวผู้และตัวเมียจะคุ้นเคยกัน และหากมีความจำเป็นต้องเปลี่ยนพ่อพันธุ์หรือแม่พันธุ์ควรแยกห่านตัวเก่าออกไปให้ไกล เพราะจะทำให้ห่านตัวเก่าและตัวใหม่รังแกกัน จิกตีกันหรือส่งเสียงร้องเป็นเหตุให้ห่านตัวใหม่ที่เปลี่ยนเข้าไปเกิดความกลัว ดังนี้น หากไม่มีความจำเป็นไม่ควรเปลี่ยนพ่อพันธุ์นอกจากห่านนั้นมีอายุแก่เกินไป ห่านพ่อพันธุ์ตามปกติแล้วยังสามารถใช้ผสมพันธุ์ได้ถึงอายุจะเกิน 5 ปี ไปแล้วก็ตาม file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image065.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image066.jpgfile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifเนื้อห่านก็เหมือนกับเนื้อของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมประกอบด้วยน้ำ โปรตีน ไขมัน แร่ธาตุ ไวตามิน และคาร์โบไฮเดรทอีกเล็กน้อยก็ขึ้นอยู่กับพันธุ์อายุ และสภาพการเลี้ยงดู เนื้อของห่านเมื่อยังเล็กจะมีน้ำมากและมีไขมันต่ำ แต่ก็ยังมีไขมันมากกว่าเนื้อของไก่คุณสมบัติที่ดีเด่นของเนื้อสัตว์ปีกอยู่ที่คุณค่าอาหารและร่างกายมนุษย์สามารถที่จะย่อยและดูดซึมเข้าสู่ร่างกายได้เนื้อห่านมีโปรตีนพอๆ กับเนื้อไก่ โดยเฉพาะเนื้อห่านที่ไม่ได้ขุนจะมีโปรตีนมากกว่าเนื้อไก่และเนื้อห่านอ่อนเนื้อห่านขุนจะมีไขมันมากกว่าเนื้อไก่ และให้ปริมาณพลังงานที่มากกว่าเนื้อไก่ ส่วนประกอบทางเคมีของเนื้อสัตว์ปีกบางชนิดชนิดfile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image067.gifปริมาณเป็นเปอร์เซ็นต์file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifพลังงานกิโลแคลอรี่
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifความชื้นโปรตีนไขมันเกลือแร่ต่อ 100 กรัม
เนื้อไก่อ่อน74.816.55.53.2118.8
เนื้อไก่แก่63.719.316.01.0227.9
เนื้อห่านอ่อน46.716.336.20.8403.5
เนื้อห่านขุน 38.015.945.60.5448.3
เนื้อห่านไม่ได้ขุน70.8222.65.41.09142.9
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image068.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image069.jpgfile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif1.เลี้ยงง่าย เจริญเติบโตเร็ว เมื่อลูกห่านมีอายุ10 วันขึ้นไป เปอร์เซ็นต์การเลี้ยงรอดประมาณ 80% การตายมักจะเกิดขึ้นในช่วงสัปดาห์แรก อาจจะเนื่องมาจากอ่อนแอหรอืถูกแม่ทับใช้เวลาเลี้ยงส่งตลาดสั้น อายุประมาณ 15 สัหปดาห์ ก็ใช้ฆ่าบริโภคได้file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif2.การลงทุนต่ำ เนื่องจากห่างสามารถเจริญเติบโตได้ดีโดยอาศัยหญ้าอย่างเดียวยกเว้นในช่วงแรกเกิดระยะแรกเท่านั้น ที่ต้องจัดหาอาหารผสมให้ลูกห่านกินด้วย file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif3.เลี้ยงได้ในท้องที่ทุกแห่ง ไม่ว่าจะเป็นที่ดอนที่ลุ่ม แม้แต่ในบริเวณบ้านก็ใช้เลี้ยงห่านได้ ขอแต่ให้มีที่กันแดดกันฝนก็เพียงพอแล้วfile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif4.ช่วยทำให้พื้นที่สะอาด ห่านสามารถกินหญ้าหรือวัชพืชต่างๆได้เป็นอย่างดี จึงช่วยทำให้บริเวณที่เลี้ยงสะอาด file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image070.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif5.มูลห่านใช้เป็นปุ๋ยสำหรับใส่ต้นไม้และพืชผักได้file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif6.ไม่สกปรกและไม่มีกลิ่นเหม็นfile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image034.gif file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif7.ช่วยเฝ้าบ้านและป้องกันสัตว์ร้ายในบริเวณบ้านเช่น แมลงป่อง ตะขาบ และ งู เป็นต้น file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image071.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image072.jpgfile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifการเลี้ยงห่านfile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image052.gifอาจจะแบ่งออกได้เป็น3 อย่างคือ file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif1.การเลี้ยงห่านเพื่อผลิตไข่ แต่ไม่ค่อยเป็นที่นิยมนัก ทั้งนี้เนื่องจากห่านไข่ไม่ดกเพราะให้ไข่ปีละ 4-5 ครั้ง ๆ ละ 7-10 ฟองเท่านั้น
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif2. การเลี้ยงห่านเพื่อขยายพันธุ์โดยทั่วไปแล้วห่านที่เลี้ยงเพื่อการขยายพันธุ์จะเป็นห่านที่มีอายุตั้งแต่ 1ปีขึ้นไป ซึ่งในช่วงการให้ไข่ปีที่ 2 และปีที่3 ห่านจะให้ไข่ดี
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif3. การเลี้ยงห่านเนื้อเพื่อขายเป็นห่านกระทง อายุระหว่าง 2-4 เดือน ห่านที่ใช้เลี้ยงเป็นห่านเนื้อควรจะเจริญเติบโตเร็วมีขนสีขาวและขนขึ้นเต็ม มีซากตกแต่งแล้วขนาดปานกลาง file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image073.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifวิธีเริ่มต้นเลี้ยงห่านเนื้อ ทำได้ 2 วิธีคือ file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif3.1ซื้อไข่file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image029.gifมาฟักเอง ซึ่งค่อนข้างยุ่งยากเล็กน้อยและต้องรู้จักวิธีการ
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif3.2 ซึ้อลูกห่านfile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image052.gifมาเลี้ยง ซึ่งเป็นวิธีที่สะดวกกว่าfile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifโดยทั่วไปแล้วอาจจะกล่าวได้ว่าการเลี้ยงห่านส่วนมากเลี้ยงเพื่อขายเป็นห่านเนื้อส่วนการที่จะเริ่มเลี้ยงเมื่อไรนั้นขึ้นอยู่กับความต้องการของตลาด อย่างเช่น ความต้องการของตลาดสำหรับห่านเนื้อมีมากในเทศกาลตรุษจีนดังนั้นผู้เลี้ยงจะต้องเริ่มเลี้ยงล่วงหน้าก่อนเทศกาลตรุษจีนประมาณ 3-4 เดือน เป็นต้น แต่โดยทั่วไปก็มีการเลี้ยงห่านกันตลอดปีfile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image074.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifในลูกห่านจะตรวจดูเพศได้โดยfile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif1.ปลิ้นก้นfile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image055.gifดู ซึ่งเหมือนกับวิธีดูเพศลูกเป็ดวิธีนี้สามารถดูเพศลูกห่านได้เมื่ออายุ 1-2 วัน โดยใช้นิ้วแม่มือซ้ายกดเหนือทวารด้านบนแล้วใช้นิ้วหัวแม่มือขวากดปลิ้นทวาร ถ้าเป็นลูกห่านตัวผู้จะเห็นเดือยเล็ก ๆคล้ายเข็มหมุดโผล่ออกมา ส่วนตัวเมียเมื่อปลิ้นก้นดูไม่มีเดือยเล็ก ๆ โผล่ออกมา file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image075.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif2.ดูปีก เมื่อลูกห่านอายุประมาณ 3-4 วัน จะสังเกตได้โดยดูปมที่ข้อศอกด้านในปีกถ้าเป็นลูกห่านตัวผู้ปมจะใหญ่ มีสีดำ ลักษณะยาวรี ไม่มีขนปกคลุม มีขนาดเท่าปลายดินสอมองเห็นได้ชัดเจน แต่ถ้าเป็นลูกห่านตัวเมียจะไม่มีปมดังกล่าว หรือถ้ามีขนาดจะเล็กมากและมีขนปกคลุมจนมองไม่เห็น file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image070.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif3.ดูสีขน วิธีนี้ใช้ดูได้ในห่านพันธุ์พิลกริม และพันธุ์เอ็มเด็นเท่านั้นคือ ลูกห่านพันธุ์พิลกริมตัวผู้จะมีสีครามอ่อน ๆ เกือบขาวแต่ลูกห่านตัวเมียจะมีสีเทาส่วนลูกห่านพันธุ์เอ็มเด็นตัวผู้จะมีสีขาวมากปนกับสีเทาอ่อนเพียงเล็กน้อย ส่วนตัวเมียจะมีสีเทามากปนสีขาวเพียงเล็กน้อยเมื่อลูกห่านโตแล้วจนเป็นห่านรุ่นขึ้นไปจะสังเกตลักษณะเพศได้โดย file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image076.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif1.วิธีดูอวัยวะเพศ โดยจับห่านวางบนโต๊ะ หรือวางบนโคนขาของผู้จับ ให้หางห่านชี้ออกไปจากตัวผู้จับห่านแล้วใช้นิ้วชี้ซึ่งทาวาสลินสอดเข้าไปในรูทวาร ลึกประมาณครึ่งนิ้ว วนรอบๆทวารหลายๆครั้ง หลังจากนั้นค่อยๆ กดด้านล่างหนือด้านข้างของทวาร หากเป็นตัวผู้อวัยวะเพศซึ่งมีลักษณะคล้ายเกลียวเปิดจุกก๊อกจะโผล่ออกมาให้เห็นfile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image073.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif2.วิธีฟังเสียง ในห่านที่เจริญเติบโตเต็มที่แล้ว ห่านตัวผู้จะมีเสียงแหบต่ำส่วนตัวเมียจะมีเสียงใสกังวานชัดเจน file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif3.วิธีดูลักษณะรูปร่าง ในห่านอายุเท่ากัน ห่านตัวผู้จะสังเกตได้จากลักษณะรูปร่างซึ่งมีลำตัวยาวกว่า คอยาวกว่า และหนากว่า อีกทั้งขนาดตัวใหญ่กว่า file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image077.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image078.jpgfile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifหลักใหญ่ๆ ที่ใช้พิจารณาในการคัดเลือกห่านสำหรับผสมพันธุ์ คือ file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif1.น้ำหนักตัว
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif2. ความกว้างของหน้าอก
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif3. ความยาวและขนาดลำคอของห่านถ้าคอยาวพอดี เรียวเล็กไม่หนาเทอะทะ ส่วนใหญ่จะเป็นห่านไข่ดก
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif4. อัตราการเจริญเติบโต
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif5. สีของขน
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif6. ความมีอายุยืนยาว
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif7. การให้ไข่
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif8. ความยาวของกระดูกสันหลัง
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif9. ความอุดมสมบูรณ์ในการสืบพันธุ์
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif10. การฟักออกเป็นตัวfile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifนอกจากนั้นลักษณะที่สำคัญของห่านพ่อพันธุ์ที่จะต้องพิจารณาก็คือมีลักษณะแข็งแรง ข้อขาแข็ง คุมฝูงเก่ง และมีความกระตือรือร้นในการผสมพันธุ์ file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image079.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifอัตราส่วนของตัวผู้และตัวเมียในการผสมพันธุ์สำหรับห่านพันธุ์หนักตัวผู้หนึ่งตัวใช้คุมฝูงผสมพันธุ์ตัวเมีย 2-3 วัน ส่วนห่านพันธุ์เบาตัวผู้หนึ่งตัวใช้คุมฝูงตัวเมีย4-5 ตัว file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifห่านที่เลี้ยงเพื่อใช้ทำพันธุ์ไม่ต้องเร่งให้เจริญเติบโต เพียงแต่ปล่อยให้หากินตามลานหญ้าอย่างเต็มที่ ให้กินหญ้าสดพืชตระกูลถั่ว หรือผักสดอื่น ๆ อย่างเพียงพอและมีน้ำสะอาดให้กินตลอดเวลา หากจะปล่อยเลี้ยงไว้ในแปลงหญ้าตั้งหีบหรือรังไว้ในแปลงหญ้า ใช้ฟางข้าวหรือหญ้าปูรองพื้นรัง หรือจะกั้นคอกให้อยู่ให้มีขนาดพื้นที่ 5 ตารางฟุตต่อตัว เพื่อห่านจะได้เดินเล่นรอบ ๆบริเวณไว้ ควรมีอาหารผสมเสริมให้กินวันละนิดหน่อยก็เพียงพอแล้วfile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image080.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image010.jpgfile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif1.รักษาความสะอาดของบริเวณที่เลี้ยงห่านอยู่เสมอ อย่าปล่อยให้บิรเวณที่เลี้ยงเปียกแฉะภาชนะที่ใช้ใส่อาหารและน้ำต้องทำความสะอาดอยู่เป็นประจำ file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif2.อาหารที่ใช้เลี้ยงห่านต้องเป็นอาหารใหม่และคุณภาพดี น้ำที่ใช้กินต้องเป็นน้ำสะอาดfile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif3.ควรจัดให้มีภาชนะใส่น้ำยาฆ่าเชื้อโรคตั้งไว้ เพื่อให้บุคคลภายนอกจุ่มเท้าก่อนจะเข้าบริเวณที่เลี้ยงห่านfile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif4.ไม่นำห่านจากที่อื่นมาเลี้ยงรวมกับห่านที่เลี้ยงไว้เดิม จนกว่าจะได้กักดูดอาหารก่อนประมาณ15 วัน file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif5.หากมีห่านป่วยอ่อนแอ ให้รีบแยกเลี้ยงไว้ต่างหาก ปรึกษาสัตวแพทย์เกี่ยวกับการรักษาถ้ามีห่านตายต้องจัดการฝังอย่างมิดชิด หรือเผาเสีย อย่าได้นำไปโยนทิ้งหรือให้สัตว์อื่นกินfile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif6.ปรึกษาสัตวแพทย์เกี่ยวกับการฉีดวัคซินป้องกันโรค และการถ่ายพยาธิที่สำนักงานปศุสัตว์อำเภอหรือสำนักงานปศุสัตว์จังหวัดในท้องที่ต่าง ๆ ทั่วประเทศ file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image081.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image083.jpg
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifห่านกำลังไข่หรือfile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifลูกห่านห่านรุ่นห่านผสมพันธุ์ห่านเนื้อ
รำละเอียด48505232
รำหยาบ---30
ปลายข้าว10201420
ข้าวโพด101010-
ปลาป่นจืด15888
กากถั่วลิสง151088
เปลือกหอยป่น10.550.5
กระดูกป่น0.51.021.0
เกลือป่น0.50.50.50.5
แร่ธาตุไวตามิน0.50.50.50.5

หน้า: [1]
ดูในรูปแบบกติ: ความรู้เกี่ยวกับห่าน