ลืมรหัสผ่าน
 สมัครเข้าเรียน
ค้นหา
ดู: 1046|ตอบกลับ: 0

ความรู้เกี่ยวกับห่าน

[คัดลอกลิงก์]

รุ่นน้องจูเนียร์

กระทู้
5
พลังน้ำใจ
261
Zenny
4
ออนไลน์
64 ชั่วโมง
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image001.gif
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image003.jpgfile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifห่านเป็นสัตว์ที่เลี้ยงง่ายไม่ค่อยเป็นโรคทนต่อสภาพแห้งแล้งและไม่ต้องการการดูแลเป็นพิเศษแต่อย่างใด จึงเหมาะอย่างยิ่งกับสภาพโดยทั่วไปของประชาชนในต่างจังหวัดที่จะนำมาเลี้ยงเพื่อใช้เป็นอาหารประเภทโปรตีนอีกทั้งการเลี้ยงดูก็ไม่มีอะไรที่ยุ่งยากหรือซับซ้อน และที่สำคัญก็คือใช้เงินลงทุนต่ำมากวิธีการเลี้ยงอาจจะใช้เลี้ยงแบบขังเล้า หรือปล่อยเลี้ยงตามใต้ถุนบ้านหรือท้องนา ปล่อยให้เล็มหญ้าหรือวัชพืชอื่นๆ และมีอาหารข้นซึ่งประกอบด้วยรำ ปลายข้าว ข้าวเปลือก เสริมให้กินบ้างเท่านั้นก็เป็นเพียงพอแล้ว
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifกล่าวโดยทั่วไปแล้วการเลี้ยงห่านยังไม่เป็นที่แพร่หลายนัก ทั้งนี้เพราะปัญหาเกี่ยวกับความเชื่อถือในการบริโภคเนื้องห่านว่าเป็นอาหารแสลงอย่างเช่นผู้ชายเมื่อบริโภคเนื้อห่านแล้วจะเกิดเป็นโรคเรื้อน หรือผู้หญิงหากบริโภคเนื้อห่านแล้วจะเป็นโรคผิดกระบูนหรือพิษแม่ลูกอ่อน ซึ่งแท้จริงแล้วมิได้เป็นเช่นนั้น โรคดังกล่าวหากจะเกิดขึ้นจะต้องมีตัวของเชื้อโรคนั้นๆ เป็นสาเหตุจึงจะเกิดขึ้น หาใช่เป็นเพราะเนื้อห่าน มีบางรายเมื่อบริโภคเนื้อห่านแล้วจะมีอาการแพ้บ้าง ซึ่งโอกาสที่จะเกิดขึ้นก็มีน้อยมาก เช่นเดียวกับคนบางคนที่แพ้ไข่เนื้อ เนื้อหมู ไก่ กุ้ง หรือเนื้อสัตว์อื่น ๆ
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image006.jpgfile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifนอกจากนั้นคนบางคนมีความคิดว่าเนื้อห่านเป้นอาหารสำหรับผู้มีอันจะกินเท่านั้นดังจะเห็นได้จากในสมัยก่อน ๆ ตามบ้านผู้มีฐานะดีจะเลี้ยงห่านกันบ้านละ 3-4 ตัว แต่แท้จริงที่มีผู้นิยมเลี้ยงไว้ตามบ้านนั้นก็เลี้ยงไว้เพื่อเฝ้าบ้านกันขโมยเท่านั้น
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifในปัจจุบันปัญหาการขาดแคลนโปรตีนและพลังงานของประชาชนทั่วๆ ไปซึ่งจะทำให้ร่างกายอ่อนแอ มีผลเสียอย่างยิ่งต่อสมอง อันจะเป็นผลกระทบกระเทือนต่อการพัฒนาประเทศสัตว์เลี้ยงที่จะช่วยเสริมแหล่งโปรตีนราคาถูกให้กับประชาชนโดยทั่วไปไม่ว่าในชนบทหรือในตัวเมืองอีกชนิดหนึ่งนอกเหนือจาก
พันธุ์ห่านที่นิยมเลี้ยงกันมาก ได้แก่
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image007.gif
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image008.gif
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifพันธุ์จีนมีอยู่ 2 ชนิดที่เป็นที่นิยมคือ
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifพันธุ์จีนสีขาวและพันธุ์จีนสีเทา รูปร่างเล็กว่าพันธุ์อื่น ๆ มีอัตราการเจริญเติบโตเร็ว เมื่อโตเต็มที่จะมีน้ำหนักปานกลางซึ่งเหมาะสำหรับส่งขายตลาดน้ำหนักเมื่อเป็นหนุ่มสาว ตัวผู้จะหนักประมาณ 4.5กก. เมื่อเทียบกับพันธุ์อื่น ๆ แล้ว ห่านพันธุ์จีนให้ไข่เมื่ออายุน้อยและให้ไข่ดี โดยเฉลี่ยประมาณตัวละ 30-50 ฟองต่อปี ซึ่งเคยมีรายงานการให้ไข่สูงสุดถึงปีละ132 ฟอง และน้ำหนักไข่ เฉลี่ยฟองละ 150 กรัม
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image009.gif
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image008.gif
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image011.jpgfile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifพันธุ์เอ็นเด็น มีแหล่งกำเนิดจากประเทศเยอรมันนี ขนมีสีขาวบริสุทธิ์ตลอดตัวมีลักษณะค่อนข้างสวยงามแต่ขนบางเบา จึงมองเห็นเหมือนตั้งชี้ตรงขึ้นไป มีลักษณะลำตัวตรงค่อนข้างใหญ่ มีอัตราการเจิรญเติบโตเร็ว สามารถทำน้ำหนักตัวได้เต็มที่ในระยะเวลาอันสั้นเหมาะสำหรับเลี้ยงไว้เพื่อจำหน่ายเนื้อ น้ำหนักตัวเมื่อเป็นหนุ่มสาว ตัวผู้หนักประมาณ9.1 กก.ตัวเมียหนักประมาณ 7.3 กก. เมื่อโตเต็มที่ตัวผู้หนักประมาณ 11.8กก. และตัวเมียหนักประมาณ 9.1 กก. ให้ไข่ได้ดีพอประมาณโดยเฉลี่ย ประมาณตัวละ 30-40 ฟองต่อปี
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image012.gif
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image008.gif
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image013.jpgfile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifพันธุ์โทเลาซ์ มีแหล่งกำเนิดจากประเทศฝรั่งเศส ทางตอนใต้ตามชื่อเมืองโทเลาซ์ลักษณะเฉพาะของห่างพันธุ์นี้อ้วนล่ำลำตัวกว้างมีขนไม่หนาตรงกลางหลังมีขนสีเทาเข้ม ซึ่งจะค่อยๆ จางลงมาเรื่อย ๆ ตรงอกและท้องมีแถบเป็นขอบสีขาว ตาสีน้ำตาลแก่หรือน้ำตาลแดง ปากสีส้มอ่อนๆ แข็งและข้อเท้ามีสีส้มปนแดง ส่วนขาตอนล่างและเล็บเท้ามีสีแสดเข้ม น้ำหนักตัวเมื่อเป็นหนุ่มสาวตัวผู้หนักประมาณ 9.1กก. ตัวเมียหนักประมาณ 7.3 กก. ส่วนน้ำหนักเมื่อโตเต็มที่ตัวผู้หนักประมาณ 11.8 กก. ตัวเมียหนักประมาณ 9.1 กก. ซึ่งเมื่อเทียบกับห่านพันธุ์เอ็นเด็นแล้วจะมีขนาดเท่า ๆ กันการให้ไข่เฉลี่ยประมาณตัวละ 34 ฟองต่อปี
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image014.gif
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image008.gif
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image016.jpgfile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifพันธุ์ฟิลกริม ห่านพันธุ์นี้มีขนสีแตกต่างกันระหว่างตัวผู้กับตัวเมียเมื่ออายุ 1 วันตัวผู้จะมีสีครามจาง ๆ ไปทางขวา ส่วนตัวเมียสีเทา พอโตขึ้นตัวผู้จะมีสีขาวตลอดร่างแต่ตัวเมียมีสีเทาปนขาว ลักษณะรูปร่างอยู่ในขนาดกลาง ๆ น้ำหนักเมื่อเป็นหนุ่มสาว ตัวผู้หนักประมาณ5.5 กก. ตัวเมียหนักประมาณ 4.5 กก. เมื่อโตเต็มที่ตัวผู้หนักประมาณ6.5 กก. และตัวเมียหนักประมาณ 5.9 กก. การให้ไข่อยู่ในเกณฑ์ต่ำเฉลี่ยประมาณตัวละ29-39 ฟองต่อปี
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image017.gif
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image008.gif
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image019.jpgfile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifพันธุ์อาฟริกัน เป็นห่านรูปร่างสวยงาม มีก้อนตุ่มขนาดโตสีดำเห็นได้ชัดเจนบนหัวลักษณะลำตัวยาวรี หัวสีน้ำตาลอ่อน จงอยปากเป็นสีดำ ขนบริเวณปีกและหลังสีเทาอ่อนปนน้ำตาลขนตรงคอ อกสีเดียวกันแต่อ่อนกว่าเล็กน้อย ขนใต้ลำตัวมีสีอ่อนกว่าขนตรงอกจนเกือบจะเป็นสีขาวแข้ง และเท้าสีส้มเข้ม น้ำหนักเมื่อเป็นหนุ่มสาว ตัวผู้หนัก 7.3 กก. ตัวเมีย 6.4กก. เมื่อโตเต็มที่ตัวผู้หนักประมาณ 9.1 กก. ตัวเมียหนักประมาณ8.2 กก.
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image020.gif
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image008.gif
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image021.jpgfile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifพันธุ์แคนาดา เป็นห่านป่าที่มีถิ่นฐานอยู่ทางอเมริกาเหนือ ขนาดค่อนข้างเล็กลำตัวค่อนข้างยาว หัวมีสีดำ มีคาดสีเทาหรือขาวบนหน้าทั้งสองข้างคอสีดำ หลังสีดำปนเทาขนปีกมีสีดำขลิบเทาอ่อน และมีขนาดยาวใหญ่เจริญเติบโตช้าและให้ไข่น้อยมาก เมื่อเป็นหนุ่มสาวตัวผู้หนัก 4.5 กก. ตัวเมีย 3.6 กก. เมื่อโตเต็มที่ ตัวผู้หนัก 5.5กก. ตัวเมียหนัก 4.5 กก.
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image022.gif
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image008.gif
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image023.jpgfile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifพันธุ์อิยิปต์เชี่ยนเป็นห่านขนาดเล็ก ลำตัวค่อนข้างยาว เล็กและเรียวจงอยปากสีม่วงอมแดง หัวสีดำปนเทามีจุดสีน้ำตาลอมแดงรอบๆ ตาลำตัวส่วนบนมีสีเทาปนดำ ส่วนล่างสีเหลืองเป็นลาย ๆ สลับริ้วสีดำ แข้งและเท้าสีเหลืองออกแดง
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image024.gif
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image025.jpgfile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifปกติแล้วโรงเรือนสำหรับเลี้ยงห่านใหญ่ไม่ค่อยจะจำเป็นนักนอกจากลูกห่านในระยะแรกเกิด ควรจะมีโรงเรือนเลี้ยงเป็นสัดส่วน แต่อย่างไรก็ตามอาจจะสร้างเป็นโรงเรือนเล็กๆ สำหรับใช้เลี้ยงห่านโดยทั่วไปก็ได้ อย่างเช่น โรงเรือนเลี้ยงไก่หรือเป็ด แต่หากจะประหยัดหรือลดต้นทุนการผลิตอาจจะกั้นบริเวณใต้ถุนหรือบริเวณลานบ้าน ใช้สังกะสีหรือลวดตาข่ายสูง1 เมตร ล้อมกั้นบริเวณก็ได้เพื่อสะดวกต่อการเคลื่อนย้ายหรือเปลี่ยนสถานที่ สิ่งที่สำคัญก็คือพื้นเล้าของโรงเรือน หรือบริเวณที่กั้นเลี้ยงห่านจะต้องแห้ง มีสิ่งรองพื้นหนาพอสมควรในการเลี้ยงปล่อยควรมีร่มต้นไม้ไว้สำหรับห่านได้หลบแดดด้วย
ความต้องการพื้นที่เลี้ยงของห่านขนาดต่างๆ
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifลูกห่านอายุ 1สัปดาห์ ควรจัดให้มีพื้นที่ 1/2 - 3/4 ตารางฟุต/ตัว
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifลูกห่านอายุ 2สัปดาห์ ควรจัดให้มีพื้นที่ 1 - 1 1/2 ตารางฟุต/ตัว
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifลูกห่านอายุ 2สัปดาห์ขึ้นไปอย่างน้อย 2 ตารางฟุต/ตัว
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image027.jpgfile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifแต่ควรปล่อยอิสระออกเลี้ยงในทุ่งหญ้าหรือแปลงหญ้าการเลี้ยงห่านอาจจะแบ่งออกได้เป็น 3 อย่างคือ
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif1.การเลี้ยงห่านเพื่อผลิตไข่ แต่ไม่ค่อยเป็นที่นิยมนัก ทั้งนี้เนื่องจากห่านไข่ไม่ดกเพราะให้ไข่ปีละ 4-5 ครั้ง ๆ ละ 7-10 ฟองเท่านั้น
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif2.การเลี้ยงห่านเพื่อขยายพันธุ์ โดยทั่วไปแล้วห่านที่เลี้ยงเพื่อการขยายพันธุ์จะเป็นห่านที่มีอายุตั้งแต่1 ปีขึ้นไป ซึ่งในช่วงการให้ไข่ปีที่ 2 และปีที่3 ห่านจะให้ไข่ดี
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif3.การเลี้ยงห่านเนื้อ เพื่อขายเป็นห่านกระทง อายุระหว่าง 2-4 เดือน ห่านที่ใช้เลี้ยงเป็นห่านเนื้อ ควรจะเจริญเติบโตเร็วมีขนสีขาวและขนขึ้นเต็มมีซากตกแต่งแล้วขนาดปานกลาง
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image028.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image029.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image030.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image031.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image029.gif
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image033.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifไข่ห่านที่จะนำมาฟักควรเป็นไข่ห่านจากแม่ห่านที่ได้รับการผสมพันธุ์แล้วและมีอายุระหว่าง 1-3 ปี ไข่ที่จะใช้ฟักไม่ควรเก็บไว้นานเกิน7 วัน หากเก็บไว้ถึง 10 วันมีแนวโน้มที่จะทำให้การฟักออกต่ำลงแต่ถ้าจำเป็นต้องเก็บไว้เกิน 7 วัน ต้องเก็บไว้ในที่ที่มีอุณหภูมิ50-60 องศาฟาเรนไฮท์ (F) หรือประมาณ 10-15องศาเซนเซียส (C) และความชื้นสัมพันธ์ 75-80เปอร์เซ็นต์ ควรกลับไข่อย่างน้อยวันละครั้งเพื่อป้องกันไม่ให้เชื้อติดเยื่อเปลือกไข่ไข่ฟักที่สะอาดจะมีเปอร์เซ็นต์การไปฟัก ออกเป็นตัวดีกว่าไข่ที่สกปรก หากจำเป็นต้องใช้ไข่ที่สกปรกไม่มากนักไปฟักต้องรีบทำความสะอาดทันทีหลังจากเก็บ โดยใช้ฝอยโลหะหรือกระดาษทรายเบอร์ 0 หรือเบอร์ 1 ขัดเบา ๆ หรือล้างในน้ำอุ่นที่สะอาด(อุณหภูมิประมาณ 48 องศาเซนเซียส) ซึ่งผสมด้วยน้ำยาล้างไข่เป็นเวลาประมาณ3 นาที ควรระมัดระวังเสมอว่าน้ำที่จะใช้ล้างไข่จะต้องอุ่นกว่าอุณหภูมิของไข่เสมอไข่ฟักที่มีขนาดฟองใหญ่เกินไปหรือเล็กเกินไป หรือมีลักษณะผิดปกติแตกร้าว ไม่ควรใช้ฟักเพราะโอกาสจะฟักออกเป็นตัวมีน้อยมาก
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image034.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image028.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image029.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image030.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image028.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image029.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image035.gif
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image037.jpg
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image038.gif
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image039.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif1.ห่านพันธุ์ทั่วๆไป 31-32 วัน
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif2. ห่านพันธุ์แคนาดาและพันธุ์อียิปต์เชี่ยน35 วัน
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image040.gif
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image042.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifวิธีการฟักไข่ห่านมีอยู่3 วิธี คือ
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif1.ใช้แม่ไก่ฟัก แม่ไก่ตัวหนึ่งสามารถฟักไข่ห่านได้ครั้งละ 4-5 ฟอง
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif2. ใช้แม่ห่านฟัก แม่ห่านตัวหนึ่งฟักไข่ห่านได้ครั้งละ7-8 ฟอง
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifวิธีฟักไข่2 วิธีดังกล่าวข้างบนนี้จะต้องจัดทำรังฟักไข่สำหรับให้แม่ไก่หรือแม่ห่านกกไข่ด้วย พื้นรังไข่ควรรองด้วยหญ้าแห้งหรือฟางข้าวก่อนให้แม่ไก่หรือแม่ห่านฟักไข่จะต้องทำการกำจัดไรหรือเหาตามตัวเสียก่อน รังฟักไข่ควรจะอยู่ใกล้ที่ให้อาหารและน้ำและควรวางบนพื้นดินเพราะจะเป็นการช่วยให้มีความชื้นมากขึ้น อยู่ในที่ที่แม่ไก่หรือแม่ห่านไม่ถูกรบกวนในระหว่างฟักไข่หากจะช่วยกลับไข่วันละ 3-4 ครั้ง ก็จะเป็นผลดี ควรทำเครื่องหมายตามด้านยาวของฟองไข่ไว้เป็นการกันสับสนการกลับไข่ให้กลับ 180 องศา โดยพลิกกลับเอาด้านตรงกันข้ามขึ้น
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image044.jpgfile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif3.ใช้ตู้ฟักหรือที่เรียกว่า การฟักแบบวิทยาศาสตร์
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifไข่ที่จะนำมาฟัก หากเก็บไว้ในห้องเก็บไข่ที่ควบคุมอุณหภูมิเมื่อจะนำเข้าตู้ฟักจะต้องเอามาวางไว้ในห้องปกติเสียก่อน เพื่อให้ไข่มีอุณหภูมิสูงขึ้นจึงค่อยนำเข้าตู้ฟัก มิฉะนั้นอุณหภูมิในตู้ฟักไข่จะลดลงอย่างมาก การวางไข่ในถาดฟักให้วางไข่ในแนวราบตามความยาวของฟองไข่และควรทำเครื่องหมายที่ฟองไข่เพื่อความสะดวกในการกลับไข่อุณหภูมิตู้ฟักไข่ควรตั้งไว้ที่ 37.5 องศาเซนเซียส หรือ 99.5-99.7องศาฟาเรนไฮท์ ในช่วง 25-28 วันแรก ความชื้นสัมพันธ์ของตู้ฟักประมาณ57-62 เปอร์เซ็นต์ (ปรอทตุ้มเปียกประมาณ30-31 องศาเซนเซียส) และควรจะพรมไข่ด้วยน้ำอุ่นสัปดาห์ละ2 ครั้ง
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifได้มีผู้แนะนำไว้ว่าในการฟักไข่ห่านได้ผลดีนั้น ควรจะเอาถาดไข่ออกมาวางข้างนอกตู้ฟัก พรมด้วยน้ำอุ่นเป็นฝอยๆตั้งทิ้งไว้สัก 10-15 นาที แล้วจึงนำกลับเข้าตู้ฟัก
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifระหว่างช่วงออกช่วงที่ลุกห่านจะเริ่มเจาะเปลือกไข่ ควรจะเพิ่มความชื้นให้สูงขึ้นถึง 73-79% (ปรอทตุ้มเปียกประมาณ 32.7-33.8 องศาเซนเซียส) ความชื้นสูงในช่วงนี้จะช่วยทำให้เยื่อหุ้มเปลือกไข่นุ่ม เป็นการง่ายสำหรับลูกห่านจะได้เจาะโผล่ออกมา
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image045.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image046.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image045.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image046.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image046.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image046.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image046.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image045.gif
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image047.gif
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image048.gif
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image049.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifการส่องไข่คือการตรวจดูว่าไข่ฟองไหนมีเชื้อหรือไม่มีเชื้อ การส่องไข่ควรกระทำในห้องมือโดยใช้ที่ส่องไข่ส่องดูหรือจะจับไข่มาส่องกับแสงสว่างดูก็ได้ ควรส่องไข่ดู 2 ครั้ง ครั้งแรกเมื่อฟักไข่ไปได้แล้ว 10วัน และครั้งที่สองเมื่อครบ 28 วัน หรือเหลืออีก3 วัน ก่อนกำหนดออกเป็นตัว
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifเมื่อส่องไข่ดูครั้งแรกพบไข่ไม่มีเชื้อหรือไข่เชื้อตายจะต้องนำออกไปจากตู้ฟักไข่ให้หมด เพื่อมิให้กระทบกระเทือนต่อการฟักออกของไข่มีเชื้อไข่ไม่มีเชื้อจะมองเห็นเหมือนไข่ธรรมดาไข่เชื้อตายจะปรากฏเป็นจุดดำติดอยู่กับเยื่อเปลือกไข่ซึ่งจะมีวงเลือดปรากฏให้เห็น ส่วนไข่มีเชื้อและกำลังเจริญเติบโตจะเห็นเป็นจุดดำที่ส่วนท้ายของไข่ใกล้กับช่องอากาศและมีเส้นเลือดกระจายออกไปรอบ ๆ จากจุดนี้
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifในการส่องไข่ครั้งที่สองเมื่อได้ทำการฟักไปแล้ว 28 วัน หรืออีก 3วัน ก่อนกำหนดออกเป็นตัว ไข่ที่เชื้อยังดีอยู่และกำลังจะออกเป็นตัว จะปรากฏเป็นสีดำทึบไปหมดยกเว้นส่วนที่เป็นช่องอากาศจะมองเห็นการเคลื่อนไหวของลูกห่านที่กำลังจะออกด้วย
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifอัตราการฟักออกเป็นตัวของไข่ห่านไข่ที่เก็บในระยะแรกของการให้ไข่จะฟักออกเป็นตัวดีที่สุด แล้วค่อย ๆ ละลงเรื่อยๆ ตามระยะของการให้ไข่ซึ่งเฉลี่ยตลอดฤดูการให้ไข่อัตราการฟักออกประมาณ66 เปอร์เซ็นต์
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image045.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image050.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image045.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image050.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image050.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image050.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image050.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image045.gif
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image051.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image052.gif
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image054.jpgfile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifหากอากาศไม่หนาวเย็นหรือในระหว่างหน้าร้อนการกกลูกห่านจะกกเฉพาะในเวลากลางคืนเท่านั้น ซึ่งจะกกประมาณ 2-3 สัปดาห์ หากใช้แม่ไก่หรือแม่ห่านกก ซึ่งเป็นการกกแบบธรรมชาติก็ไม่มีปัญหาแต่อย่างใด แม่ไก่ตัวหนึ่งจะกกลูกห่านได้ประมาณ 4-5 ตัว ส่วนแม่ห่านจะกกลูกห่านได้ประมาณ 7-8 ตัวหากมีลูกห่านเกิดใหม่จำนวนมาก ก็ควรจะใช้วิธีกกแบบวิทยาศาสตร์ ซึ่งอาจจะใช้
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif1.ตะเกียง การใช้ตะเกียงกก ตะเกียงหนึ่งดวงจะใช้กกลูกห่านได้ประมาณ15-35 ตัว ควรใช้สังกะสีทำเป็นวงล้อมกันมิให้ลูกห่านถูกตะเดียง และมีวงล้อมด้านนอกกั้นมิให้ลูกห่านออกไปไกลจากตะเกียงซึ่งเป็นแหล่งให้ความร้อน
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif2.เครื่องกก ซึ่งอาจจะใช้ไฟฟ้าหรือใช้แก๊สก็ได้ แต่โดยทั่วไปแล้วนิยมใช้ไฟฟ้าอาจจะเป็นลักษณะเป็นกรงกก หรือเป็นลักษณะแบบฝาชีก็ได้ กรงกกขนาดกว้าง 1 เมตร ยาว 2 เมตร ใช้กกลูกห่านได้ประมาณ 50-75ตัว ถ้าเป็นแบบเครื่องกกฝาชี ซึ่งกกลูกไก่ได้ 500 ตัว ก็จะใช้กกลูกห่านได้ 250 ตัว ในการใช้เครื่องกกลูกห่านจะต้องสังเกตการแสดงออกของลูกห่านเป็นเครื่องชี้ให้ทราบว่า ความร้อนที่ใช้กกเหมาะสมพอดีหรือไม่เช่น ลูกห่านเบียดสุมกันอยู่และส่งเสียงดัง แสดงว่าความร้อนไม่พอ หรือลูกห่านยืนอ้าปากกางปีกออก แสดงว่าความร้อนมากเกินไป
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image052.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image052.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image052.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image055.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image052.gif
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifโรงเรือนหรือสถานที่ที่ใช้กกลูกห่านในช่วงนี้พื้นเล้าจะต้องแห้งมีแสงสว่างพอควร ไม่มีหยักไย่หรือฝุ่นละอองสกปรก อากาศถ่ายเทได้ดีและสามารถป้องกันมิให้สุนัชแมว หรือ หนู เข้ไาปรบกวนทำอันตรายลูกห่านได้
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifจากช่วงแรกเกิดถึงอายุ3 สัปดาห์ จะใช้อาหารลูกไก่สำเร็จรูปชนิดอัดเม็ดมาใช้เลี้ยงลูกห่านก็ได้หรือหากผสมอาหารเอง เมื่อผสมแล้วจะต้องมีจำนวนโปรตีนประมาณ 20-22 เปอร์เซ็นต์ และผสมน้ำพอหมาด ๆ ให้กินก็ได้
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifหากจะใช้รางน้ำหรือรางอาหารที่ใช้เลี้ยงลุกไก่มาใช้เลี้ยงลูกห่านก็ได้แต่ควรจัดให้มีพื้นที่ขอบรางน้ำสำหรับลูกห่านหนึ่งตัวอย่างน้อย 3/4 นิ้ว และขอบรางอาหาร 1/2 นิ้ว
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifตังแต่แรกเกิดจนถึง24-48 ชั่วโมงไม่ต้องให้อาหารลูกห่าน หลังจากนั้นจึงเริ่มให้อาหาร ควรให้อาหารลูกห่านกินบ่อย ๆวันละประมาณ 3-5 ครั้ง ปริมาณอาหารที่ให้กิน ประมาณว่าให้แต่ละครั้งลูกห่านกินหมดพอดีหรือหากเหลือก็น้อยที่สุด โดยเฉลี่ยลูกห่านจะกินอาหารวันละประมาณ 10 เปอร์เซ็นต์ ของน้ำหนักตัว มีน้ำสะอาดให้กินตลอดเวลา
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image056.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image055.gif
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image057.jpgfile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifหลังจากที่ลูกห่านมีอายุ 3 สัปดาห์แล้ว อาหารที่ใช้เลี้ยงควรจะเปลี่ยนเป็นอาหารที่มีโปรตีนประมาณ17-18 เปอร์เซ็นต์ หรือจะใช้อาหารสำเร็จรูปสำหรับไก่รุ่นก็ได้ และควรจะให้ห่านได้กินหญ้าสดโดยเร็วเท่าที่จะเป็นได้โดยค่อย ๆ ปล่อยให้ห่านหัดหาหญ้ากินเอง แล้วจัดอาหารผสมเสริมไว้ให้กินในตอนเย็นวันละประมาณ100-150 กรัมต่อตัวจริงอยู่ที่ว่าห่านสามารถเจริญเติบโตได้ดีถึงแม้จะเลี้ยงด้วยหญ้าสดเพียงอย่างเดียวแต่การให้อาหารผสมเสริมให้ห่านกิน จะทำให้มีการเจริญเติบโตดีและโตเร็วขึ้น ในที่ที่ปล่อยห่านไปหาหญ้ากินควรมีร่มต้นไม้หรือทำร่มไว้ให้ในระหว่างที่อากาศร้อน หากสามารถจัดทำแปลงหญ้าสำหรับห่านได้โดยเฉพาะเป็นการดีอย่างยิ่งอีกทั้งประหยัดต้นทุนการผลิตด้วย ห่านชอบกินหญ้าที่ต้นอ่อนยังสั้นอยู่และนุ่ม แปลงหญ้าที่ปล่อยให้ห่านเข้าไปกินแล้วจะต้องตบแต่งเป็ฯการทำให้หญ้าที่เหลือค้างอยู่ไม่แก่การตัดในช่วงห่างสม่ำเสมอกัน จะช่วยทำให้หญ้าไม่ยาวและมีเยื่อใยมากเกินไป แปลงหญ้าที่ได้รับการบำรุงอย่างดีเนื้อที่ 1 ไร่ จะเลี้ยงห่านได้ประมาณ 30-50 ตัว
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image058.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image052.gif
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image059.jpgfile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifปกติแล้วในบ้านเราจะเลี้ยงห่านจะมีอายุประมาณ 4-5 เดือนก็จับขาย เมื่อประมาณว่าจะจับขายเมื่อใดก่อนหน้านั้นสัก 4 สัปดาห์อาหารผสมที่ใช้เลี้ยงควรจะลดจำนวนโปรตีนลงเหลือประมาณ14 เปอร์เซ็นต์ หรือใช้อาหารไก่เนื้อช่วงสุดท้ายก็ได้ ห่านรุ่นทั้งตัวผู้และตัวเมียที่ไม่ได้คัดเลือกไว้สำหรับทำพันธุ์ควรจะนำมาเลี้ยงขนเพื่อขายเป็นห่านเนื้อ ในช่วง 4 สัปดาห์นี้ควรจับห่านขังไว้ในคอกเล็กๆ ไม่ต้องปล่อยไปหากินหญ้า แต่ควรตัดหญ้านำมาใช้กินในคอก เพื่อห่านจะได้มีน้ำหนักตัวเพิ่มเร็วขึ้นและเนื้อมีคุณภาพดีวิธีขุนอาจจะแบ่งขุนเป็น
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif1.ขุนขังคอกเล็ก จับห่านขังคอกประมาณ 20-25 ตัวต่อคอก มีพื้นที่ขนาดให้พออยู่ได้สบาย ๆ ไม่ต้องมีลานวิ่ง พื้นคอมกมีวัสดุรองพื้นจะจัดกั้นลานเล็กๆ ให้อยู่ก็ได้ ให้อาหารกินวันละ 3 เวลา มีน้ำให้กินตลอดเวลาและมีข้าวเปลือกหรือข้าวโพดหญ้าสดหรือเศษผักที่ไม่มีสารมีพิษตกค้างให้กินด้วย
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif2.ขุนเป็นฝูงใหญ่ ฝูงละเป็น 100 ตัวขึ้นไป ซึ่งอาจใช้วิธีเดียวกันกับการเลี้ยงไก่กระทงก็ได้โดยใช้โรงเรือนแบบเดียวกัน พื้นคอกต้องมีวัสดุปูรองพื้น หรือจะใช้เป็นพื้นลวดตาข่ายก็ได้อาหารที่ใช้ขุนจะใช้อาหารไก่กระทงช่วงสุดท้าย หรือผสมใช้เองก็ได้ พร้อมทั้งมีภาชนะใส่น้ำไว้ให้กินด้วยหรืออาจจะใช้วิธีขุนในแปลงหญ้าโดยเฉพาะ และมีอาหารผสมเสริมให้กิน ซึ่งจะเป็นการช่วยให้ระยะการขุนสั้นเข้า
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image060.gif
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image061.jpgfile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifในบ้านเราจากการศึกษาพบว่าห่านจะเริ่มให้ไข่เมื่ออายุประมาณ 165 วัน หรือประมาณ 5 เดือนครึ่งขึ้นไปซึ่งตามธรรมชาติแล้วเมื่อห่านจะเริ่มให้ไข่ แม่ห่านจะหารังไข่เอง ฉะนั้นจึงจำเป็นต้องจัดทำรังไข่ให้ซึ่งอาจทำได้หลายลักษณะ เช่น ทำเป็นช่อง ๆ เหมือนรังไข่สำหรับเป็ดหรือไก่ ช่องละ 1ตัว ควรมีขนาดอย่างน้อยกว้าง 18 นิ้ว ลึก 20นิ้ว สูง 40 นิ้ว หรืออาจจะทำเป็นรังไข่ตามยาวโดยไม่ต้องกั้นแบ่งช่องก็ได้พร้อมทั้งมีวัสดุรองพื้นที่สะอาดรองไว้ให้หนาพอสมควร เพื่อไข่จะได้สะอาด อย่างน้อยจะต้องมีรังไข่1 รัง สำหรับห่าน 5-6 ตัว
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifห่านจะให้ไข่เป็นชุดๆ ในปีหนึ่งโดยเฉลี่ยประมาณ 3-4 ชุด แต่อาจให้ไข่ตั้งแต่ 1-7 ชุด ชุดหนึ่งจะได้ไข่ประมาณ7-10 ฟอง แต่บางครั้งอาจได้ครั้งละ 9-12 ฟอง ซึ่งการให้ไข่ในชุดที่ 2 จะให้ไข่มากกว่าชุดอื่นๆ และแต่ละชุดจะใช้เวลาประมาณ 10-15 วัน โดยมีช่วงห่างระหว่างชุดแรกกับชุดที่สองตั้งแต่ 26-71 วัน โดยช่วงห่างระหว่างชุดแรกจะห่างมากและชุดต่อๆไปจะสั้นลงเรื่อย ๆ ระยะแรกๆ ไข่ห่านจะมีขนาดเล็กเท่า ๆ กับไข่เป็ด ต่อไปจะมีขนาดใหญ่ขึ้นเมื่ออายุการให้ไข่ครบปี ไข่ห่านจะมีขนาดสองเท่าของไข่เป็ด ไข่ห่านโดยเฉลี่ยจะมีน้ำหนักประมาณฟองละ155.6 กรัม
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifปกติแล้วห่านจะให้ไข่วันเว้นวันแต่มีบางตัวที่ให้ไข่สองวันหรือสามวันติดต่อกัน แล้วจึงหยุดไข่วันหนึ่งหรือหลายวันและห่านจะให้ไข่ตอนสายๆ
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image062.gif
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifการเก็บไข่วันละหลายๆครั้งจะช่วยมิให้แม่ห่านนั่งกกไข่และหยุดไข่เร็วเกินไป
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifการให้ไข่ของห่านในปีที่สองจะให้ไข่จำนวนมากกว่าในปีแรกและฟองใหญ่กว่าด้วยถึงแม้ว่าเปอร์เซ็นต์ของไข่มีเชื้อจะลดลงเมื่อห่านมีอายุมากขึ้นก็ตามแต่การฟักออกของไข่ห่านที่มีเชื้อจะมีเปอร์เซ็นต์เพิ่มขึ้นในปีที่สอง หลังจาก 2-3ปีไปแล้วการให้ไข่จะลดลงเรื่อยๆ ในปีต่อๆ ไป แต่ก็มีแม่ห่านบางตัวสามารถให้ไข่ได้ดีถึงแม้ว่าอายุจะครบ 10 ปีแล้วก็ตาม และบางครั้งถึงแม้ว่าจะมีอายุมากกว่านั้นก็ยังสามารถให้ไข่ได้ดี
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifในช่วงที่ห่านกำลังให้ไข่ใช้อาหารไก่ไข่หรืออาหารผสมเองที่มีโปรตีนประมาณ 15-17 เปรอ์เซ็นต์ ให้กินวันละ 2 เวลา วันละประมาณ 250-300 กรัมต่อตัว
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifส่วนห่านที่เลี้ยงไว้ทำพันธุ์หลังจากพ้นช่วงเป็นห่านรุ่นแล้ว ก็พิจารณาคัดเลือกห่านที่มีลักษณะดีนำมาใช้เลี้ยงเพื่อขยายพันธุ์ต่อไป
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image063.gif
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image064.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifการผสมพันธุ์ของห่านควรปล่อยให้ผสมพันธุ์เองตามธรรมชาติ ถ้าห่านได้ผสมกันในน้ำ จะช่วยให้เปอร์เซ็นต์ไข่มีเชื้อดีขึ้นการผสมแบบฝูงใหญ่ประมาณ 25-50 ตัว ไม่น่ากระทำ เพราะนอกจากห่านพ่อพันธุ์จะจิกตีกันเองแล้วยังจะทำให้การให้ไข่ของห่านแม่พันธุ์ลดน้อยลงด้วย
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifในระยะแรกจะพบว่าการผสมพันธุ์ของห่านนั้นเป็นไปอย่างช้าและลำบากจนกว่าห่านตัวผู้และตัวเมียจะคุ้นเคยกัน และหากมีความจำเป็นต้องเปลี่ยนพ่อพันธุ์หรือแม่พันธุ์ควรแยกห่านตัวเก่าออกไปให้ไกล เพราะจะทำให้ห่านตัวเก่าและตัวใหม่รังแกกัน จิกตีกันหรือส่งเสียงร้องเป็นเหตุให้ห่านตัวใหม่ที่เปลี่ยนเข้าไปเกิดความกลัว ดังนี้น หากไม่มีความจำเป็นไม่ควรเปลี่ยนพ่อพันธุ์นอกจากห่านนั้นมีอายุแก่เกินไป ห่านพ่อพันธุ์ตามปกติแล้วยังสามารถใช้ผสมพันธุ์ได้ถึงอายุจะเกิน 5 ปี ไปแล้วก็ตาม
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image065.gif
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image066.jpgfile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifเนื้อห่านก็เหมือนกับเนื้อของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมประกอบด้วยน้ำ โปรตีน ไขมัน แร่ธาตุ ไวตามิน และคาร์โบไฮเดรทอีกเล็กน้อยก็ขึ้นอยู่กับพันธุ์อายุ และสภาพการเลี้ยงดู เนื้อของห่านเมื่อยังเล็กจะมีน้ำมากและมีไขมันต่ำ แต่ก็ยังมีไขมันมากกว่าเนื้อของไก่คุณสมบัติที่ดีเด่นของเนื้อสัตว์ปีกอยู่ที่คุณค่าอาหารและร่างกายมนุษย์สามารถที่จะย่อยและดูดซึมเข้าสู่ร่างกายได้เนื้อห่านมีโปรตีนพอๆ กับเนื้อไก่ โดยเฉพาะเนื้อห่านที่ไม่ได้ขุนจะมีโปรตีนมากกว่าเนื้อไก่และเนื้อห่านอ่อนเนื้อห่านขุนจะมีไขมันมากกว่าเนื้อไก่ และให้ปริมาณพลังงานที่มากกว่าเนื้อไก่
ส่วนประกอบทางเคมีของเนื้อสัตว์ปีกบางชนิด
ชนิดfile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image067.gifปริมาณเป็นเปอร์เซ็นต์file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifพลังงานกิโลแคลอรี่
  
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif
  
  
ความชื้น
  
  
โปรตีน
  
  
ไขมัน
  
  
เกลือแร่
  
  
ต่อ 100 กรัม
  
  
เนื้อไก่อ่อน
  
  
74.8
  
  
16.5
  
  
5.5
  
  
3.2
  
  
118.8
  
  
เนื้อไก่แก่
  
  
63.7
  
  
19.3
  
  
16.0
  
  
1.0
  
  
227.9
  
  
เนื้อห่านอ่อน
  
  
46.7
  
  
16.3
  
  
36.2
  
  
0.8
  
  
403.5
  
  
เนื้อห่านขุน
  
  
38.0
  
  
15.9
  
  
45.6
  
  
0.5
  
  
448.3
  
  
เนื้อห่านไม่ได้ขุน
  
  
70.82
  
  
22.6
  
  
5.4
  
  
1.09
  
  
142.9
  
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image068.gif
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image069.jpgfile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif1.เลี้ยงง่าย เจริญเติบโตเร็ว เมื่อลูกห่านมีอายุ10 วันขึ้นไป เปอร์เซ็นต์การเลี้ยงรอดประมาณ 80% การตายมักจะเกิดขึ้นในช่วงสัปดาห์แรก อาจจะเนื่องมาจากอ่อนแอหรอืถูกแม่ทับใช้เวลาเลี้ยงส่งตลาดสั้น อายุประมาณ 15 สัหปดาห์ ก็ใช้ฆ่าบริโภคได้
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif2.การลงทุนต่ำ เนื่องจากห่างสามารถเจริญเติบโตได้ดีโดยอาศัยหญ้าอย่างเดียวยกเว้นในช่วงแรกเกิดระยะแรกเท่านั้น ที่ต้องจัดหาอาหารผสมให้ลูกห่านกินด้วย
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif3.เลี้ยงได้ในท้องที่ทุกแห่ง ไม่ว่าจะเป็นที่ดอนที่ลุ่ม แม้แต่ในบริเวณบ้านก็ใช้เลี้ยงห่านได้ ขอแต่ให้มีที่กันแดดกันฝนก็เพียงพอแล้ว
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif4.ช่วยทำให้พื้นที่สะอาด ห่านสามารถกินหญ้าหรือวัชพืชต่างๆได้เป็นอย่างดี จึงช่วยทำให้บริเวณที่เลี้ยงสะอาด
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image070.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif5.มูลห่านใช้เป็นปุ๋ยสำหรับใส่ต้นไม้และพืชผักได้
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif6.ไม่สกปรกและไม่มีกลิ่นเหม็นfile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image034.gif
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif7.ช่วยเฝ้าบ้านและป้องกันสัตว์ร้ายในบริเวณบ้านเช่น แมลงป่อง ตะขาบ และ งู เป็นต้น
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image071.gif
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image072.jpgfile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifการเลี้ยงห่านfile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image052.gifอาจจะแบ่งออกได้เป็น3 อย่างคือ
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif1.การเลี้ยงห่านเพื่อผลิตไข่ แต่ไม่ค่อยเป็นที่นิยมนัก ทั้งนี้เนื่องจากห่านไข่ไม่ดกเพราะให้ไข่ปีละ 4-5 ครั้ง ๆ ละ 7-10 ฟองเท่านั้น
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif2. การเลี้ยงห่านเพื่อขยายพันธุ์โดยทั่วไปแล้วห่านที่เลี้ยงเพื่อการขยายพันธุ์จะเป็นห่านที่มีอายุตั้งแต่ 1ปีขึ้นไป ซึ่งในช่วงการให้ไข่ปีที่ 2 และปีที่3 ห่านจะให้ไข่ดี
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif3. การเลี้ยงห่านเนื้อเพื่อขายเป็นห่านกระทง อายุระหว่าง 2-4 เดือน ห่านที่ใช้เลี้ยงเป็นห่านเนื้อควรจะเจริญเติบโตเร็วมีขนสีขาวและขนขึ้นเต็ม มีซากตกแต่งแล้วขนาดปานกลาง
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image073.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifวิธีเริ่มต้นเลี้ยงห่านเนื้อ ทำได้ 2 วิธีคือ
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif3.1ซื้อไข่file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image029.gifมาฟักเอง ซึ่งค่อนข้างยุ่งยากเล็กน้อยและต้องรู้จักวิธีการ
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif3.2 ซึ้อลูกห่านfile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image052.gifมาเลี้ยง ซึ่งเป็นวิธีที่สะดวกกว่า
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifโดยทั่วไปแล้วอาจจะกล่าวได้ว่าการเลี้ยงห่านส่วนมากเลี้ยงเพื่อขายเป็นห่านเนื้อส่วนการที่จะเริ่มเลี้ยงเมื่อไรนั้นขึ้นอยู่กับความต้องการของตลาด อย่างเช่น ความต้องการของตลาดสำหรับห่านเนื้อมีมากในเทศกาลตรุษจีนดังนั้นผู้เลี้ยงจะต้องเริ่มเลี้ยงล่วงหน้าก่อนเทศกาลตรุษจีนประมาณ 3-4 เดือน เป็นต้น แต่โดยทั่วไปก็มีการเลี้ยงห่านกันตลอดปี
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image074.gif
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifในลูกห่านจะตรวจดูเพศได้โดย
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif1.ปลิ้นก้นfile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image055.gifดู ซึ่งเหมือนกับวิธีดูเพศลูกเป็ดวิธีนี้สามารถดูเพศลูกห่านได้เมื่ออายุ 1-2 วัน โดยใช้นิ้วแม่มือซ้ายกดเหนือทวารด้านบนแล้วใช้นิ้วหัวแม่มือขวากดปลิ้นทวาร ถ้าเป็นลูกห่านตัวผู้จะเห็นเดือยเล็ก ๆคล้ายเข็มหมุดโผล่ออกมา ส่วนตัวเมียเมื่อปลิ้นก้นดูไม่มีเดือยเล็ก ๆ โผล่ออกมา
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image075.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif2.ดูปีก เมื่อลูกห่านอายุประมาณ 3-4 วัน จะสังเกตได้โดยดูปมที่ข้อศอกด้านในปีกถ้าเป็นลูกห่านตัวผู้ปมจะใหญ่ มีสีดำ ลักษณะยาวรี ไม่มีขนปกคลุม มีขนาดเท่าปลายดินสอมองเห็นได้ชัดเจน แต่ถ้าเป็นลูกห่านตัวเมียจะไม่มีปมดังกล่าว หรือถ้ามีขนาดจะเล็กมากและมีขนปกคลุมจนมองไม่เห็น
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image070.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif3.ดูสีขน วิธีนี้ใช้ดูได้ในห่านพันธุ์พิลกริม และพันธุ์เอ็มเด็นเท่านั้นคือ ลูกห่านพันธุ์พิลกริมตัวผู้จะมีสีครามอ่อน ๆ เกือบขาวแต่ลูกห่านตัวเมียจะมีสีเทาส่วนลูกห่านพันธุ์เอ็มเด็นตัวผู้จะมีสีขาวมากปนกับสีเทาอ่อนเพียงเล็กน้อย ส่วนตัวเมียจะมีสีเทามากปนสีขาวเพียงเล็กน้อย
เมื่อลูกห่านโตแล้วจนเป็นห่านรุ่นขึ้นไปจะสังเกตลักษณะเพศได้โดย
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image076.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif1.วิธีดูอวัยวะเพศ โดยจับห่านวางบนโต๊ะ หรือวางบนโคนขาของผู้จับ ให้หางห่านชี้ออกไปจากตัวผู้จับห่านแล้วใช้นิ้วชี้ซึ่งทาวาสลินสอดเข้าไปในรูทวาร ลึกประมาณครึ่งนิ้ว วนรอบๆทวารหลายๆครั้ง หลังจากนั้นค่อยๆ กดด้านล่างหนือด้านข้างของทวาร หากเป็นตัวผู้อวัยวะเพศซึ่งมีลักษณะคล้ายเกลียวเปิดจุกก๊อกจะโผล่ออกมาให้เห็น
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image073.giffile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif2.วิธีฟังเสียง ในห่านที่เจริญเติบโตเต็มที่แล้ว ห่านตัวผู้จะมีเสียงแหบต่ำส่วนตัวเมียจะมีเสียงใสกังวานชัดเจน
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif3.วิธีดูลักษณะรูปร่าง ในห่านอายุเท่ากัน ห่านตัวผู้จะสังเกตได้จากลักษณะรูปร่างซึ่งมีลำตัวยาวกว่า คอยาวกว่า และหนากว่า อีกทั้งขนาดตัวใหญ่กว่า
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image077.gif
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image078.jpgfile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifหลักใหญ่ๆ ที่ใช้พิจารณาในการคัดเลือกห่านสำหรับผสมพันธุ์ คือ
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif1.น้ำหนักตัว
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif2. ความกว้างของหน้าอก
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif3. ความยาวและขนาดลำคอของห่านถ้าคอยาวพอดี เรียวเล็กไม่หนาเทอะทะ ส่วนใหญ่จะเป็นห่านไข่ดก
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif4. อัตราการเจริญเติบโต
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif5. สีของขน
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif6. ความมีอายุยืนยาว
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif7. การให้ไข่
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif8. ความยาวของกระดูกสันหลัง
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif9. ความอุดมสมบูรณ์ในการสืบพันธุ์
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif10. การฟักออกเป็นตัว
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifนอกจากนั้นลักษณะที่สำคัญของห่านพ่อพันธุ์ที่จะต้องพิจารณาก็คือมีลักษณะแข็งแรง ข้อขาแข็ง คุมฝูงเก่ง และมีความกระตือรือร้นในการผสมพันธุ์
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image079.gif
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifอัตราส่วนของตัวผู้และตัวเมียในการผสมพันธุ์สำหรับห่านพันธุ์หนักตัวผู้หนึ่งตัวใช้คุมฝูงผสมพันธุ์ตัวเมีย 2-3 วัน ส่วนห่านพันธุ์เบาตัวผู้หนึ่งตัวใช้คุมฝูงตัวเมีย4-5 ตัว
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gifห่านที่เลี้ยงเพื่อใช้ทำพันธุ์ไม่ต้องเร่งให้เจริญเติบโต เพียงแต่ปล่อยให้หากินตามลานหญ้าอย่างเต็มที่ ให้กินหญ้าสดพืชตระกูลถั่ว หรือผักสดอื่น ๆ อย่างเพียงพอและมีน้ำสะอาดให้กินตลอดเวลา หากจะปล่อยเลี้ยงไว้ในแปลงหญ้าตั้งหีบหรือรังไว้ในแปลงหญ้า ใช้ฟางข้าวหรือหญ้าปูรองพื้นรัง หรือจะกั้นคอกให้อยู่ให้มีขนาดพื้นที่ 5 ตารางฟุตต่อตัว เพื่อห่านจะได้เดินเล่นรอบ ๆบริเวณไว้ ควรมีอาหารผสมเสริมให้กินวันละนิดหน่อยก็เพียงพอแล้ว
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image080.gif
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image010.jpgfile:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif1.รักษาความสะอาดของบริเวณที่เลี้ยงห่านอยู่เสมอ อย่าปล่อยให้บิรเวณที่เลี้ยงเปียกแฉะภาชนะที่ใช้ใส่อาหารและน้ำต้องทำความสะอาดอยู่เป็นประจำ
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif2.อาหารที่ใช้เลี้ยงห่านต้องเป็นอาหารใหม่และคุณภาพดี น้ำที่ใช้กินต้องเป็นน้ำสะอาด
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif3.ควรจัดให้มีภาชนะใส่น้ำยาฆ่าเชื้อโรคตั้งไว้ เพื่อให้บุคคลภายนอกจุ่มเท้าก่อนจะเข้าบริเวณที่เลี้ยงห่าน
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif4.ไม่นำห่านจากที่อื่นมาเลี้ยงรวมกับห่านที่เลี้ยงไว้เดิม จนกว่าจะได้กักดูดอาหารก่อนประมาณ15 วัน
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif5.หากมีห่านป่วยอ่อนแอ ให้รีบแยกเลี้ยงไว้ต่างหาก ปรึกษาสัตวแพทย์เกี่ยวกับการรักษาถ้ามีห่านตายต้องจัดการฝังอย่างมิดชิด หรือเผาเสีย อย่าได้นำไปโยนทิ้งหรือให้สัตว์อื่นกิน
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif6.ปรึกษาสัตวแพทย์เกี่ยวกับการฉีดวัคซินป้องกันโรค และการถ่ายพยาธิที่สำนักงานปศุสัตว์อำเภอหรือสำนักงานปศุสัตว์จังหวัดในท้องที่ต่าง ๆ ทั่วประเทศ
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image081.gif
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image083.jpg
  
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif
  
  
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif
  
  
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif
  
  
ห่านกำลังไข่หรือ
  
  
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif
  
  
file:///C:/Users/Sony/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif
  
  
ลูกห่าน
  
  
ห่านรุ่น
  
  
ห่านผสมพันธุ์
  
  
ห่านเนื้อ
  
  
รำละเอียด
  
  
48
  
  
50
  
  
52
  
  
32
  
  
รำหยาบ
  
  
-
  
  
-
  
  
-
  
  
30
  
  
ปลายข้าว
  
  
10
  
  
20
  
  
14
  
  
20
  
  
ข้าวโพด
  
  
10
  
  
10
  
  
10
  
  
-
  
  
ปลาป่นจืด
  
  
15
  
  
8
  
  
8
  
  
8
  
  
กากถั่วลิสง
  
  
15
  
  
10
  
  
8
  
  
8
  
  
เปลือกหอยป่น
  
  
1
  
  
0.5
  
  
5
  
  
0.5
  
  
กระดูกป่น
  
  
0.5
  
  
1.0
  
  
2
  
  
1.0
  
  
เกลือป่น
  
  
0.5
  
  
0.5
  
  
0.5
  
  
0.5
  
  
แร่ธาตุไวตามิน
  
  
0.5
  
  
0.5
  
  
0.5
  
  
0.5
  

ขออภัย! คุณไม่ได้รับสิทธิ์ในการดำเนินการในส่วนนี้ กรุณาเลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง เข้าสู่ระบบ | สมัครเข้าเรียน

รายละเอียดเครดิต

A Touch of Friendship: สังคมจะน่าอยู่ เมื่อมีผู้ให้แบ่งปัน ฝากไวเป็นข้อคิดด้วยนะคะชาวจีโฟกายทุกท่าน
!!!!!โปรดหยุด!!!!! : พฤติกรรมการโพสมั่วๆ / โพสแต่อีโมโดยไม่มีข้อความประกอบการโพส / โพสลากอักษรยาว เช่น ครับบบบบบบบบ, ชอบบบบบบบบ, thxxxxxxxx, และอื่นๆที่ดูแล้วน่ารำคาญสายตา เพราะถ้าท่านไม่หยุดทีมงานจะหยุดท่านเอง
ขอความร่วมมือสมาชิกทุกท่านโปรดโพสตอบอย่างอื่นนอกเหนือจากคำว่า ขอบคุณ, thanks, thank you, หรืออื่นๆที่สื่อความหมายว่าขอบคุณเพียงอย่างเดียวด้วยนะคะ เพื่อสื่อถึงความจริงใจในการโพสตอบกระทู้ และไม่ดูเป็นโพสขยะ
กระทู้ไหนที่ไม่ใช่กระทู้ในลักษณะที่ต้องโพสตอบโดยใช้คำว่าขอบคุณ เช่นกระทู้โพล, กระทู้ถามความเห็น, หรืออื่นๆที่ทีมงานอ่านแล้วเข้าข่ายว่า โพสขอบคุณไร้สาระ ทีมงานขอดำเนินการตัดคะแนน และ/หรือให้ใบเตือนสมาชิกที่โพสขอบคุณทันทีที่เจอนะคะ

รูปแบบข้อความล้วน|โทรศัพท์มือถือ|ติดต่อลงโฆษณา|จีโฟกายดอทคอม

ข้อความที่ท่านได้อ่านในเว็บจีโฟกายดอทคอมนี้ เกิดจากการเขียนโดยสาธารณชน และตีพิมพ์แบบอัตโนมัติ หากท่านพบเห็นข้อความใดๆ ที่ขัดต่อกฎหมาย และศิลธรรม ไม่เหมาะสมที่จะเผยแพร่ ท่านสามารถแจ้งลบข้อความได้ที่ Link “แจ้งลบโพสนี้” ที่มีอยู่ใต้ข้อความทุกข้อความ หรือ ลืมพาสเวิดล๊อกอิน/ลืมชื่อที่ใช้สมัคร หรือข้อสงสัยใดๆแจ้งมาที่ G4GuysTeam[at]yahoo.com ขอขอบพระคุณที่ให้ความร่วมมือ

กรณีที่ข้อความ/รูปภาพในกระทู้นี้จัดสร้างโดยผู้ลงข้อมูลเอง ลิขสิทธิ์จะเป็นของผู้ลงข้อมูลโดยตรง หากจะทำการคัดลอก/เผยแพร่ ต้องได้รับอนุญาตจากผู้ลงข้อมูลก่อนนะคะ หรือลงที่มาไว้ด้วยค่ะ

©ขอสงวนสิทธิ์คอนเซ็ปต์,คำอธิบาย,หัวข้อ/หมวดหมู่เว็บ ห้ามลอกเลียนแบบ คิดเอาเองนะคะอย่าเอาแต่ลอก

GMT+7, 2025-1-22 19:48 , Processed in 0.096651 second(s), 25 queries .

Powered by Discuz! X3.5, Rev.8

© 2001-2024 Discuz! Team.

ตอบกระทู้ ขึ้นไปด้านบน ไปที่หน้ารายการกระทู้