ลืมรหัสผ่าน
 สมัครเข้าเรียน
ค้นหา
ดู: 1010|ตอบกลับ: 0

คอมออมโบ เมืองแห่ง"วิหารสองเทพเจ้า"

[คัดลอกลิงก์]

มาเฟียนักศึกษา

กระทู้
327
พลังน้ำใจ
3090
Zenny
9431
ออนไลน์
13 ชั่วโมง

สมาชิกจีโฟกาย 100%สมาชิกระดับแพลตตินั่มสมาชิกระดับทับทิมสมาชิกระดับไพลินสมาชิกระดับมรกตสมาชิกระดับเพชรสมาชิกระดับเพชรบริหารสมาชิกระดับเพชรคู่สมาชิกระดับตรีเพชรสมาชิกระดับมงกุฎ

มีคนบอกว่าถ้าหากกำลังตามหาเสน่ห์ของอียิปต์นั้นต้องดูที่ริ้วทราย...เพราะอะไรหน่ะหรือ...นั่นคือสิ่งที่เราจะต้องมาพิสูจน์ร่วมกัน เราขอพาคุณเดินทางไปยัง เมืองคอมออมโบ (Kom-Ombo) เมืองที่อยู่ในเขตพื้นที่ของอียิปต์ตอนบน ซึ่งตั้งอยู่ทางตอนเหนือของเมืองอัสวาน (Aswan ) ไปประมาณ 50 กิโลเมตร โดยตัวเมืองตั้งอยู่บนฝั่งตะวันออกของแม่น้ำไนล์



     เมืองคอมออมโบ เป็นเมืองที่ได้รับการขนานนามว่า "เมืองแห่งทอง" เนื่องจากเคยเป็นจุดพักค้าขายทองคำและสินค้าที่สำคัญของกองคาราวานที่มาจากนูเบีย, ทะเลทรายตะวันออกและทะเลแดงเมื่อครั้งอดีต ปัจจุบันเมืองเล็กๆแห่งนี้ได้กลายเป็นเมืองแห่งการเกษตรกรรมที่โดดเด่น เนื่องจากมีการจัดการทางด้านระบบชลประทานที่ดีเยี่ยม

     นอกจากนี้แล้วเมืองคอมออมโบยังถือว่าเป็นอีกหนึ่งในหลายๆเมืองโบราณ ที่มีความสำคัญต่อประวัติศาสตร์ของประเทศอียิปต์เป็นอย่างมาก เนื่องจากเป็นที่ตั้งของ วิหารคอมออมโบ (Kom Ombo Temple) หรือที่เรารู้จักกันในนามของ "วิหารสองเทพเจ้า" เป็นวัดที่มีความซับซ้อนสวยงามมาก






     โดยวิหารแห่งนี้ตั้งอยู่บนเนินเขาเล็กๆ ที่ล้ำออกมาถึงแม่น้ำไนล์ สามารถเห็นวิวของแม่น้ำไนล์อันงดงาม หลายคนคงสงสัยว่าเหตุใดวจึงเรียกชื่อวิหารแห่งนี้ว่า "วิหารสองเทพเจ้า" ซึ่งนั่นเป็นผลมากจากว่า วิหารแห่งนี้ถูกสร้างขึ้นเพื่อบูชาเทพเจ้า 2 องค์ คือ บูชาเทพโซเบค ซึ่งเป็นเทพเจ้าที่มีหัวเป็นจระเข้

     โดยชาวอียิปต์โบราณถือว่าเป็นเทพเจ้าแห่งความอุดมสมบูรณ์และเป็นเทพผู้สร้างโลก และอีกฝั่งหนึ่งสำหรับบูชาเทพฮอรัส ซึ่งเป็นเทพที่มีหัวเป็นเหยี่ยว โดยเทพฮอรัสนี้ถือเป็นเทพแห่งสงคราม และการแพทย์นั่นเอง






     โดยคำว่า “คอม” เป็นภาษาอาหรับ หมายถึงภูเขาเล็กๆ วิหารนี้เกือบเป็นวิหารดะโครโพลิสของกรีก เพียงแต่หินที่ใช้สร้างแตกต่างกับวิหารอื่นๆ อาจเป็นเพราะถูกปกคลุมด้วยทรายเป็นเวลานาน การวางแบบของพื้นที่แปลกและเป็นเฉพาะตัวอีกด้วย

     ภายในวิหารคอมออมโบ ประกอบไปด้วยห้องเล็กๆ ซึ่งเป็นสถานที่สำหรับการเก็บมัมมี่จระเข้อยู่สองตัว ตามฝาผนังของวิหารถูกตกแต่งไปด้วยภาพแกะสลักที่มีการบรรยาย ถึงการแพทย์ในสมัยนั้น โดยรูปแกะดังกล่าว มีเครื่องมือผ่าตัดและเครื่องมือแพทย์อีกหลายอย่าง เช่น กรรไกร มีดผ่าตัด และอื่นๆอีกมาก



     นอกจากนี้คุณยังสามารถไปชมบ่อน้ำที่อยู่บริเวณใกลๆวิหาร ซึ่งในอดีตถูกใช้เป็นตัวกำหนดอัตราค่าภาษี และเป็นสถานที่สำหรับการเลี้ยงจระเข้ของพระที่ดูแลวิหารแห่งนี้อีกด้วย
ขออภัย! คุณไม่ได้รับสิทธิ์ในการดำเนินการในส่วนนี้ กรุณาเลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง เข้าสู่ระบบ | สมัครเข้าเรียน

รายละเอียดเครดิต

A Touch of Friendship: สังคมจะน่าอยู่ เมื่อมีผู้ให้แบ่งปัน ฝากไวเป็นข้อคิดด้วยนะคะชาวจีโฟกายทุกท่าน
!!!!!โปรดหยุด!!!!! : พฤติกรรมการโพสมั่วๆ / โพสแต่อีโมโดยไม่มีข้อความประกอบการโพส / โพสลากอักษรยาว เช่น ครับบบบบบบบบ, ชอบบบบบบบบ, thxxxxxxxx, และอื่นๆที่ดูแล้วน่ารำคาญสายตา เพราะถ้าท่านไม่หยุดทีมงานจะหยุดท่านเอง
ขอความร่วมมือสมาชิกทุกท่านโปรดโพสตอบอย่างอื่นนอกเหนือจากคำว่า ขอบคุณ, thanks, thank you, หรืออื่นๆที่สื่อความหมายว่าขอบคุณเพียงอย่างเดียวด้วยนะคะ เพื่อสื่อถึงความจริงใจในการโพสตอบกระทู้ และไม่ดูเป็นโพสขยะ
กระทู้ไหนที่ไม่ใช่กระทู้ในลักษณะที่ต้องโพสตอบโดยใช้คำว่าขอบคุณ เช่นกระทู้โพล, กระทู้ถามความเห็น, หรืออื่นๆที่ทีมงานอ่านแล้วเข้าข่ายว่า โพสขอบคุณไร้สาระ ทีมงานขอดำเนินการตัดคะแนน และ/หรือให้ใบเตือนสมาชิกที่โพสขอบคุณทันทีที่เจอนะคะ

รูปแบบข้อความล้วน|โทรศัพท์มือถือ|ติดต่อลงโฆษณา|จีโฟกายดอทคอม

ข้อความที่ท่านได้อ่านในเว็บจีโฟกายดอทคอมนี้ เกิดจากการเขียนโดยสาธารณชน และตีพิมพ์แบบอัตโนมัติ หากท่านพบเห็นข้อความใดๆ ที่ขัดต่อกฎหมาย และศิลธรรม ไม่เหมาะสมที่จะเผยแพร่ ท่านสามารถแจ้งลบข้อความได้ที่ Link “แจ้งลบโพสนี้” ที่มีอยู่ใต้ข้อความทุกข้อความ หรือ ลืมพาสเวิดล๊อกอิน/ลืมชื่อที่ใช้สมัคร หรือข้อสงสัยใดๆแจ้งมาที่ G4GuysTeam[at]yahoo.com ขอขอบพระคุณที่ให้ความร่วมมือ

กรณีที่ข้อความ/รูปภาพในกระทู้นี้จัดสร้างโดยผู้ลงข้อมูลเอง ลิขสิทธิ์จะเป็นของผู้ลงข้อมูลโดยตรง หากจะทำการคัดลอก/เผยแพร่ ต้องได้รับอนุญาตจากผู้ลงข้อมูลก่อนนะคะ หรือลงที่มาไว้ด้วยค่ะ

©ขอสงวนสิทธิ์คอนเซ็ปต์,คำอธิบาย,หัวข้อ/หมวดหมู่เว็บ ห้ามลอกเลียนแบบ คิดเอาเองนะคะอย่าเอาแต่ลอก

GMT+7, 2024-11-15 01:13 , Processed in 0.141632 second(s), 26 queries .

Powered by Discuz! X3.5, Rev.8

© 2001-2024 Discuz! Team.

ตอบกระทู้ ขึ้นไปด้านบน ไปที่หน้ารายการกระทู้